การวิเคราะห์องค์ประกอบปัจจัยเกื้อหนุนในการสร้างนักศึกษาสตาร์ทอัพ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
คำสำคัญ:
การวิเคราะห์องค์ประกอบ;, ปัจจัยเกื้อหนุน;, นักศึกษาสตาร์ทอัพบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจปัจจัยเกื้อหนุนในการสร้างนักศึกษาสตาร์ทอัพของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์กลุ่มตัวอย่างการวิจัยคือนักศึกษาชมรมสตาร์ทอัพ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ จํานวน 250 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ ผลการศึกษา พบว่า ค่าสถิติ KMO เท่ากับ 0.806 ค่าสถิติไคสแควร์ เท่ากับ 20382.81 โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบสามารถสกัดปัจจัยได้ 8 องค์ประกอบ ซึ่งมีพิสัยของค่าไอเกนอยู่ระหว่าง 1.305 – 19.795 และมีค่าความแปรปรวนสะสมร้อยละ 87.76 ได้แก่ 1) ปัจจัยทางด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 2) ปัจจัยนโยบายภาครัฐ 3) ปัจจัยการเสริมทักษะการเป็นสตาร์ทอัพ 4) ปัจจัยการถ่ายทอดประสบการณ์จากรุ่นพี่ 5) ปัจจัยทางด้านสถานที่ในการทำกิจกรรม 6) ปัจจัยการสนับสนุนจากภาครัฐ 7) ปัจจัยการเชื่อมต่อเครือข่าย และ 8) ปัจจัยการหาพี่เลี้ยงสตาร์ทอัพ ซึ่งประโยชน์ที่ได้จากงานวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นเป็นข้อมูลในการสร้างสภาพแวดล้อมเกื้อหนุนให้เกิดการสนับสนุนการเป็นสตาร์ทอัพของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์เพิ่มขึ้นได้
References
กิตติมา หงส์ศิริกาญจน์. (2562). การศึกษาภาวะผู้นำธุรกิจสตาร์ทอัพที่ประสบความสำเร็จในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต: มหาวิทยาลัยสยาม.
พรรัตน์ แสดงหาญ. (2564). ความสำเร็จในการประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 13(2), 62-75.
มหาวิทยาลัยศิลปกร. (2565). Startup Thailand. เข้าถึงได้จาก https://shorturl.asia/BEdT9 25 กุมภาพันธ์ 2565
ยุทธนา เจียมตระการ. (2565). ความท้าทายของธุรกิจสตาร์ทอัพในยุคไทยแลนด์ 4.0. เข้าถึงได้จาก https://shorturl.asia/uB6zs 18 มิถุนายน 2565.
วิเลิศ ภูริวัชร, สุชาติ ไตรภพสกุล และชาคริต พิชญางกูร. (2559). การศึกษาปัจจัยสภาพแวดล้อมเกื้อหนุนต่อการสร้างสังคมความเป็นผู้ประกอบการกรณีศึกษาประเทศ. สุทธิปริทัศน์, 30(95), 89-102.
อมินดารา อริยธาดา, อังศินันท์ อินทรกำแหง และกฤตติพัฒน์ ชื่นพิทยาวุฒิ. (2565). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุด้านคุณลักษณะทางจิตและสภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการมุ่งเน้นการเป็นผู้ประกอบการโดยส่งผ่านความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาสาขาผู้ประกอบการ. วารสารการวัดผลการศึกษา, 39(105), 273-283.
อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. (2560). เกณฑ์อ้างอิง (Term of Reference) จ้างเหมาดำเนินโครงการการแข่งขัน Startup ระดับประเทศ (Startup Thailand League): มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
Aaker, D. A., Kumar, V. and Day, G. S. (2001). Marketing Research. (7th ed.). New York: John Wiley and Son.
DigitalKnowledge. (2564). 5 ปัจจัยหลักในการเลือกสถานที่จัดสัมมนาที่หลาย ๆ บริษัทเลือกใช้. เข้าถึงได้จาก http://www.bansuanporpeang.com/node/30175 18 มีนาคม 2565.
Hair, J. F., Anderson, R. E., Tatham, R. L., Black, W. C. (1995). Multivarialte Data Analysis. New Jersey: Prentice-Hal: Englewood Cliffs.
Likert, R. (1967). The human organization: Its management and value. New York: McGrawHill.
Nunnally, J. C. and Bernstein, I. H. (1994). Psychometric Theory. (3rd ed.). New York: McGraw-Hill.
ProTon Europe. (2560). ความหมายของการถ่ายทอดองค์ความรู้ หรือ Knowledge Transfer:KT. เข้าถึงได้จาก https://shorturl.asia/LZRcv 28 ตุลาคม 2565.
Suriyawong, S., Panthai, B., Gatesa, T., Amornratanasak, S., Ruangsri, S. and Sethawong, P. (2008). Educational research and statistics. (3rd ed). Bangkok: Academic promotion center publishing.
Thanapol Nagata Peryklang. (2555). การจัดกิจกรรมแหล่งการเรียนรู้. เข้าถึงจาก https://shorturl.asia/e5h8a 26 พฤษภาคม 2565.
Ungsuchoti, S., Wijitwanna, S. and Pinyopanuwat, R. (2008). Analytical Statistics for Social Science and Behavioral Science Research: LISREL Techniques. (3rd ed). Bangkok: Charoendee Munkong Publishing.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เป็นทัศนะ ลิขสิทธิ์ และความรับผิดชอบของผู้เขียนเจ้าของผลงาน