โครงการระหว่างวัยด้านการศึกษาเพื่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุไทย

ผู้แต่ง

  • ปิยากร หวังมหาพร มหาวิทยาลัยศรีปทุม

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วมทางสังคม, โครงการระหว่างวัยด้านการศึกษา, ผู้สูงอายุไทย

บทคัดย่อ

       การเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุทั่วโลกเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายของการดำเนินนโยบายของภาครัฐ เนื่องจากตลาดแรงงานที่ประชากรในวัยทำงานลดลงในขณะที่งบประมาณในการดูแลผู้สูงอายุด้านสุขภาพหรือการจ่ายเบี้ยชราภาพมีแนวโน้มสูงขึ้น ที่ผ่านมานโยบายรัฐในการดูแลผู้สูงอายุมักมุ่งไปที่โครงการด้านสุขภาพและสังคมสงเคราะห์เป็นหลัก ก่อนที่แนวคิดโครงการระหว่างวัยเพื่อดึงศักยภาพของผู้สูงอายุจะได้รับความสนใจมากขึ้น โครงการเรียนรู้ระหว่างวัยเกิดจากแนวคิดหลัก 2 แนวคิด ได้แก่ แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตและแนวคิดทุนทางสังคม แนวคิดทั้งสองนี้มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้ระหว่างกลุ่มคนในช่วงอายุที่แตกต่างกัน ประสบการณ์โครงการระหว่างวัยด้านการศึกษาของไทยเน้นการสร้างพื้นที่และโอกาสให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมโดยให้ผู้สูงอายุเป็นแหล่งความรู้และประสบการณ์ให้กับเยาวชนและผู้อื่นในชุมชนเป็นสำคัญ

References

กองสถิติสังคม สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2565). การสำรวจประชากรสูงอายุ ในประเทศไทย พ.ศ. 2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

จินตนา จันทร์บำรุง. (2564). ส่องสถานการณ์ครอบครัวไทย ปี64 โควิดซ้ำเติม!! สารพัดปัญหาถาโถม. มติชนออนไลน์ 13 เมษายน 2564. สืบค้น 24 มิถุนายน 2566 จาก https://www.matichon.co.th/lifestyle/social-women/news_2671747.

จิราพร เกศพิชญวัฒนา และภัทรพร คงบุญ. (2563). โครงการศึกษานโยบายและการดําเนินงานการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุในประเทศไทย. รายงานวิจัย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.).

ชามาภัทร สิทธิอํานวย, พิณสุดา สิริธรังศรี, และอุทัย บุญประเสริฐ. (2562). รูปแบบการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ระหว่างวัยของผู้สูงอายุและเด็กในสถานศึกษา. ว.มรม., 13,(1), 275-285.

ไทยพับลิก้า. (2018). ศูนย์ดูแลคนสองวัย Intergeneration Center โมเดลเชื่อมสัมพันธ์ต่างรุ่น สร้างคุณภาพชีวิตคนแก่-เด็กเล็ก เรียนรู้ใส่ใจกันและกัน. สืบค้น 4 กรกฎาคม 2566 จาก https://thaipublica.org/2018/05/intergeneration-care-center-aging-preschool/.

พนม คลี่ฉายา. (2563). การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของผู้สูงอายุ และข้อเสนอเพื่อการเสริมสร้างภาวะพฤฒิพลังของผู้สูงอายุไทย. รายงานวิจัย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทยและสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2565). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2564. นครปฐม: สถาบันวิจัย ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2566). เอาชนะภาวะ “เนือยนิ่ง” ด้วย 7 กิจกรรมทางสังคม สร้างความสุขให้ผู้สูงอายุ. สืบค้น 14

มิถุนายน 2566 จาก https://thaitgri.org/?p=39066.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.). (2564). รายงานสถิติประชากร 2563. สืบค้น 16 มิถุนายน 2566 จาก https://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/Populati%0AonStat.aspx

อาชัญญา รัตนอุบลและคณะ. (2561). ข้อเสนอการพัฒนาการดำเนินงานส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ. รายงานวิจัย. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) และสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.).

อัศนี วันชัย, นันทา พิริยะกุลกิจ และกัลยา ศรีมหันต์. (2563). ประสบการณ์การตัดสินใจเข้าร่วมและไม่เข้าร่วมกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในเขตเมือง: การวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 13(1), 116-128.

Berkman, L. F., & Syme, S. L. (1979). Social networks, host resistance, and mortality: a nine-year follow-up study

of Alameda County residents. American Journal of Epidemiology, 109(2), 186-204.

Bostrom, A.K. (2007). Informal learning in a formal context: ‘problemzing’ the concept of social capital in a contemporary Swedish context. International Journal of Life Long Education, 21(6), 510–524.

Cornwell, B., Laumann, E. O., & Schumm, L. P. (2008). The Social Connectedness of Older Adults: A National Profile.

American Sociological Review, 73(2), 185-203.

Femia, E. E., Zarit, S. H., Blair, C., & Jarrott, S. E. (2019). Intergenerational programs: An overview and description of current research and practice. The Gerontologist, 59(1), e20-e29.

Hoff, A. (2007). Intergenerational Learning as an Adaptation Strategy in Aging Knowledge Societies. In: European Commission (ed.) Education, Employment, Europe. Warsaw: National Contact Point for Research Programs of the European Union.

Holt-Lunstad, J., Smith, T. B., Baker, M., Harris, T., & Stephenson, D. (2015). Loneliness and Social Isolation as Risk

Factors for Mortality: A Meta-Analytic Review. Perspectives on Psychological Science, 10(2), 227-237.

Morrow-Howell, N., Hinterlong, J., Rozario, P. A., & Tang, F. (2003). Effects of volunteering on the well-being of older adults. Journal of Gerontology: Social Sciences, 58(3), S137-S145.

Peterson, N. A., Speer, P. W., & McMillan, D. W. (2008). Validation of a brief sense of community scale: Confirmation of the principal theory of sense of community. Journal of Community Psychology, 36(1), 61-73.

Smith, J. (2017). Learning Across Generations: An Innovative Approach to Intergenerational Education. Educational

Gerontology, 43(11), 569-579.

United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division. (2021). World Population Ageing 2021. Highlights (ST/ESA/SER.A/451).

U.S. Census Bureau. (2020). Social Isolation and Loneliness Among Older Adults. Retrieved from https://www.census.gov/library/stories/2020/05/older-adults-social-isolation.html

Williams, L. (2018). Family Support and Social Participation among Older Adults. The Gerontologist, 58(3), 437-447.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-03-23

How to Cite

หวังมหาพร ป. (2024). โครงการระหว่างวัยด้านการศึกษาเพื่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 4(1), 1–12. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JMSSNRU/article/view/2306