ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจในการลาออกจากงานของพนักงานบริษัทเอกชนในจังหวัดสกลนคร

ผู้แต่ง

  • ชัยยศ ณัฐอังกูร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • มิ่งสกุล โฮมวงศ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • ปูริดา วิปัชชา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • อรทัย พันธ์สวรรค์ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • กชพร จันทร์เรือง หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • กันย์ทิพา ชวพันธุ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

คำสำคัญ:

ลาออกของพนักงาน, บริษัทเอกชน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจในการลาออกจากงานของพนักงานบริษัทเอกชนในจังหวัดสกลนคร โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือพนักงานบริษัทเอกชนในจังหวัดสกลนครจำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ซึ่งมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ อยู่ระหว่าง .675 - .889 และมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค อยู่ระหว่าง .715 - .929 วิเคราะห์ผลด้วยสมการถดถอยพหุคุณ ผลการวิจัยด้วยสมการถดถอยพหุคุณ พบว่าด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ ด้านความเท่าเทียม ยุติธรรม ด้านโอกาสและความก้าวหน้าในงาน ด้านนโยบายการบริหาร ด้านลักษณะงาน ด้านความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน ร่วมกันอธิบาย ความตั้งใจในการลาออกจากงาน ได้ร้อยละ 3.6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (R2 = .36, F=3.480, p=.002) โดยที่ ด้านลักษณะงาน มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการลาออกจากงาน (b= .280) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .005 ด้านความเท่าเทียมยุติธรรมมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการลาออกจากงาน (b= .115) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .040 อย่างไรก็ตาม ด้านนโยบายการบริหารไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการลาออกจากงาน (b=.077) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .462 ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการลาออกจากงาน (b=-.061) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .440 ด้านความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการลาออกจากงาน (b=-.041) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .627 และ ด้านโอกาสและความก้าวหน้าในงานไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการลาออกจากงาน (b=.022) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .790

References

กฤษนพร ศุกรนันท์, ฤทัยรัตน์ พามา, อุมาพร ไชยจำเริญ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวโน้มการตัดสินใจลาออก ของพนักงานฝ่ายผลิต บริษัท โกลไฟน์ เมนูแฟคเจอร์เรอส์ จำกัด (มหาชน) จังหวัดกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยและนวัตกรรม, (2)2, 73-83.

กสิณ วิต๊ะกุล. (2562). ความตั้งใจในการลาออกของพนักงาน: กรณีศึกษาบริษัทอาหารแห่งหนึ่งในประเทศไทย. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล.

จุฑารัตน์ แสงสุริยันต์ (2549). ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านองค์กรที่มีความสัมพันธ์กับแนวโน้มการลาออกของพนักงานบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง. ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต มหาวิยาลัยบูรพา.

ณัชชา ม่วงพุ่ม. ( 2559 ). ความกา้วหน้าและความมั่นคงในการทำงานของลูกจ้างชั่วคราว ในหน่วยงานองค์กรมหาชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาธรรมศาสตร์.

ดาวเดือน โลหิตปุระ และชัยวัฒน์ สมศรี. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการลาออกของพนักงานบริษัทเอกชนในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 28(1), 167-178.

นฤมล จิตรเอื้อ, วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2561). การรับรู้ความยุติธรรมในองค์กรที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการทำงานอย่างสร้างสรรค์และผลการปฏิบัติงานเชิงนวัตกรรมผ่านความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจของอาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, 14(2), 348-380.

ปฐมาวดี หินเธาว์, (2561). ความตั้งใจในการลาออกของพนักงานบริษัทผู้ให้บริการลูกค้าภาคพื้นกับสายการบินแห่งหนึ่ง. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ไพศาล บุญสุวรรณม. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจลาออกจากงานของพนกังานรักษาความปลอดภัยบริษัท จี4 เอส ซีเคียวริต เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย). หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

วิธวิทย์ จานเหนือ. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจที่จะลาออกของพนักงานฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท จี สตีล จำกัด(มหาชน). การค้นคว้าอิสระสาขาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ศศิ อ่วมเพ็ง. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจลาออกของพนักงานระดับบังคับบัญชา สำนักงานบัญชีกลางบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน). การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุพรรษา พุ่มพวง. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการลาออกของพนักงานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง เขตราษฎร์บูรณะกรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

สุวลักษณ์ แสนภักดี. (2560). การลาออกจากงานของพนักงานระดับ ปฏิบัติงานการบริษัทซีพี เซเว่นอีเลฟเว่น จำกัด (มหาชน) ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร. สารนิพนธ์สาขาวิชาการจัดการ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อุษณี โกพลรัตน์. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานโรงแรมอิมพีเรียล จังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

Affect, Absence, Turnover Intentions, and Health Journal of Applied Psychology, 76, 46-53.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J. & Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis. 7th Edition, Pearson, New York.

Herzberg, F., Mausner, B., & Snyderman, B. B. (1959). The Motivation to work. New York: John Wiley & Sons, 2nd ed.

Hickman, Craig R. & Michael A. Silva. (1984). Greating Excellence. New York: New American Library,

Mobley, H. H. (1982). Employee turnover case consequences and control. Texas: Addison-Wesley.

Porter, L.W., Lawler, E.E.III, & Hackman, J.R. (1965). Behavior in organizations. U.S.A.: McGraw-Hill

Price L. James. (1977). The Study of Turnover. Administrative Science Quarterly, (23)2, 351-353.

The Standard Wealth. (2566). ผลวิจัยใหม่ Gen Z และ Millennials ยอม ‘ลาออก’ หรือ ‘ว่างงาน’ ถ้าต้องทำงานในบริษัทที่ ‘ไม่มีความสุข’. สืบค้น 6 พฤศจิกายน 2566 จาก https://thestandard.co/gen-z-millennials-rather-quit-jobs-unemployed-than-unhappy-study-data-trends/

Setthakorn, K. (2019). Family Background and Its Impact on Job Embeddedness and Turnover Intention: The Moderating Role of the Number of Dependents and Family Income Level. PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research, 8(2), 99–108.

Spector, P.E; S.M. Jex. (1991 February), Relations of Job Characteristics from Multiple Data Source with Employee

Warner, S. R. (1993). Work in Progress toward a New Paradigm for the Sociological, Study of Religion in the U.S. American Journal of Sociology, 98, 44-93.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-11