ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตระหนักในการผลิตพืชตามแนวปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกรในพื้นที่ตำบลบางเลน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
คำสำคัญ:
ความตระหนัก, เกษตรกร, การผลิตพืช, แนวปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับปัจจัยและความตระหนักในการผลิตพืชตามแนวปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกร และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความตระหนักในการผลิตพืชตามแนวปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกรในพื้นที่ตำบลบางเลน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ เกษตรกรในพื้นที่จำนวน 343 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่าเกษตรกรในพื้นที่ตำบลบางเลน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี มีความตระหนักในการผลิตพืชตามแนวปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีอยู่ในระดับสูง โดยเกษตรกรตระหนักถึงการใส่ใจการจัดเก็บวัตถุอันตรายทางการเกษตรและสารเคมีชนิดต่างๆ ในสถานที่เหมาะสม เป็นสัดส่วนมากที่สุด และมีปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความตระหนักในการผลิตพืชตามแนวปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีจำนวน 4 ปัจจัย ได้แก่ การศึกษาระดับประถม การศึกษาระดับปริญญาตรี การเป็นสมาชิกกลุ่มทางการเกษตร และการศึกษาระดับมัธยมต้น ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่าตัวแปรที่มีผลต่อความตระหนักในการผลิตพืชตามแนวปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีมี 4 ตัวแปร ได้แก่ อายุของเกษตรกร การเป็นสมาชิกกลุ่มทางการเกษตร การศึกษาระดับประถม และการศึกษาระดับปริญญาตรี โดยสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของความตระหนักในการผลิตพืชตามแนวปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ได้ร้อยละ 33.8
References
กมลมาลย์ ทิพย์รัตน์, พวงรัตน์ เกษรแพทย์, อรวรรณ ตัณฑ์เจริญรัตน์ และพัฒนา ชัชพงศ์. (2557). การเสริมสร้างความตระหนักทางการศึกษาของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเลอูรักลาโว้ยในจังหวัดภูเก็ต. วารสารศึกษาศาสตร์, 25(2), 1-14.
กรมส่งเสริมการเกษตร. (2556). รายงานผลการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพเจ้าหน้าที่ที่ปรึกษาเกษตรกร เรื่อง แนวทางการขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมมาตรฐานสินค้าเกษตร GAP. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
จรัญญา เพียซ้าย. (2556). การยอมรับเทคโนโลยีการผลิตข้าวหอมมะลิตามเกษตรดีที่เหมาะสมของเกษตรกร อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์. ในการประชุมวิชาการแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 10 วันที่ 6-7 ธันวาคม 2556 (หน้า 2965-2972). นครปฐม: หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
จักรพันธ์ พรมเกี๋ยง. (2562). ความรู้และการปฏิบัติตามแนวเกษตรดีที่เหมาะสมของเกษตรกรผู้ปลูกหม่อน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาทรัพยากรและส่งเสริมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
จิราวรรณ เลิศคุณลักษณ์, ปัญญา หมั่นเก็บ และธำรง เมฆโหรา. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการผลิตมะม่วงตามแนวทางการเกษตรดีที่เหมาะสมของเกษตรกรในพื้นที่อำเภอปากช่องจังหวัดนครราชสีมา. วารสารพระจอมเกล้า, 30(3), 13-21.
ชมพูนุช คำปัด, สุรพล เศรษฐบุตร, ภาณุพันธ์ ประภาติกุล และธนะชัย พันธ์เกษมสุข. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกรผู้ผลิตมะม่วงในอำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน. วารสารแก่นเกษตร, 48(พิเศษ 1), 409-414.
ดวงฤดี กิตติจารุดุล. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติและความตระหนักด้านการบริหารจัดการความเสี่ยง กรณีศึกษา: บริษัทนำเข้าส่งออกแห่งหนึ่ง. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเนชั่น.
ไทยพีบีเอส. (2565). จาก GMP โอกาสและความหวังของชุมชน. สืบค้น 25 เมษายน 2567 จาก https://thecitizen.plus/node/55153.
นฤมล กรสุพรรณ์. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อความตระหนักต่อสุขภาพสิ่งแวดล้อมในการใช้สารเคมีทางการเกษตรของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พรรณทิพา สาวันดี. (2554). การศึกษาความตระหนักรู้ต่อการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์และความปลอดภัยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 5 โรงเรียนบ้านหนองน้ำขุ่น ที่เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง ทักษณะการใช้อินเตอร์เน็ต. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พรรณทิวา กว้างเงิน และบุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล. (2560). ความรู้ความเข้าใจและการปฏิบัติของเกษตรกรในการผลิตข้าวหอมมะลิที่มีการปฏิบัติทางการเกษตรดีที่เหมาะสม จังหวัดมหาสารคาม. วารสารแก่นเกษตร, 45(พิเศษ 1), 580-587.
พัชรินทร์ สุภาพันธ์, พัชรี อินธนู และก้องนเรนทร์ ใจคำปัน. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับมาตรฐานการรับรองตามการผลิตทางการเกษตรดีที่เหมาะสม (GAP) ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร, 38(3),152-170.
พีระยศ แข็งขัน และจุฑามาศ คำสุนทร. (2558). การเรียนรู้และยอมรับการใช้ GAP ในการผลิตข้าว. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 35(1), 133-140.
ยุทธนา โพธิ์เกตุ, เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ และภรณี ต่างวิวัฒน์. (2559). การส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัยและได้มาตรฐานตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีแก่เกษตรกรในจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารแก่นเกษตร, 44(พิเศษ 1), 623-629.
สำนักงานจังหวัดสุพรรณบุรี. (2566). แผนพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรี (พ.ศ.2566-2570). สืบค้น 11 มกราคม 2566 จาก https://ww1.suphanburi.go.th/files/com_strategic/2021-09_170f74733169edf.pdf.
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. (2557). มาตรฐานสิค้าเกษตร มกษ. 9001-2556 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดำสำหรับพืชอาหาร. สืบค้น 11 มกราคม 2566 จาก https://www.acfs.go.th/standard/download/GAP_food%20crop.pdf.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2566). การรับรองแหล่งผลิต GAP พืช. หอสมุดรัฐสภา. สืบค้น 25 เมษายน 2567 จาก https://library.parliament.go.th/th/radioscript/rr2566-aug5.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
องค์การบริหารส่วนตำบลบางเลน. (2566). ข้อมูลพื้นฐาน. สืบค้น 11 มกราคม 2566 จาก https://www.banglenlocal.go.th/index.php?url=about&code=basic_data&cat=A.
เอกลักษณ์ ธนเจริญพิศาล. (2555). ความตระหนักและการยอมรับการนำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) มาใช้ในองค์การภาครัฐ : ศึกษากรณีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. วารสารสมาคมวิจัย, 17(1), 42-54.
Al-Amin, A. Q., Muhammad. M. M., Md Sujahangir, K. S., Walter, L. F., & Brent, D. (2020). Analyzing the socioeconomic and motivational factors affecting the willingness to pay for climate change daptation in Malaysia. International Journal of Disaster Risk Reductio, 50(101708). doi.org/10.1016/j.ijdrr.2020.101708.
Li, M., Wang, J., Zhao, P., Chen, K., & Wu, L. (2020). Factors affecting the willingness of agricultural green production from the perspective of farmers' perceptions. Science of The Total Environment. 738(140289). doi.org/10.1016/j.scitotenv.2020.140289.
Miles, J., & Shevlin, M. (2001). Applying regression and correlation: A guide for students and researchers. London: Stage.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3rd ed). New York: Harper and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เป็นทัศนะ ลิขสิทธิ์ และความรับผิดชอบของผู้เขียนเจ้าของผลงาน