รูปแบบธุรกิจ พฤติกรรมผู้บริโภคและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เซรั่มบำรุงผิวหน้าจากสารสกัดลางสาดเชิงพาณิชย์

ผู้แต่ง

  • ศรีไพร สกุลพันธ์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สังกัดคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
  • สินีนาถ วิกรมประสิทธิ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสมัยใหม่ สังกัดคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
  • ปิยวรรณ ปาลาศ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร สังกัดคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

คำสำคัญ:

การตัดสินใจซื้อ, ผลิตภัณฑ์เซรั่มบำรุงผิว, พฤติกรรมผู้บริโภค, รูปแบบธุรกิจ, สารสกัดลางสาด

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) รูปแบบธุรกิจและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสารสกัดลางสาดเพื่อผลิตภัณฑ์เซรั่มบำรุงผิวหน้า และ 2) พฤติกรรมผู้บริโภคและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เซรั่มบำรุงผิวหน้า โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน ประกอบด้วยการสัมภาษณ์วิสาหกิจชุมชนและผู้ประกอบการ 20 ราย และใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยสำคัญในการตัดสินใจซื้อสารสกัดจากลางสาด ของผู้ประกอบการ ได้แก่ การมีใบรับรองคุณภาพ คุณสมบัติของสารสกัด กรรมวิธีการสกัด และราคา รูปแบบธุรกิจที่เหมาะสมประกอบด้วยการจัดตั้งกลุ่มธุรกิจชุมชน โมเดลวิสาหกิจเพื่อสังคม และการบริหารจัดการในรูปแบบสหกรณ์ ด้านพฤติกรรมผู้บริโภค พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 41-50 ปี นิยมใช้เซรั่มแบบครีม วันละ 2 ครั้ง โดยมีส่วนผสมของวิตามินต่าง ๆ เพื่อให้ความชุ่มชื้นแก่ผิว และลดจุดด่างดำ ปัจจัยสำคัญในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เซรั่มบำรุงผิวหน้าจากสารสกัดลางสาดเชิงพาณิชย์ คือ ด้านผลิตภัณฑ์ไม่ก่อให้เกิดการแพ้หรือระคายเคือง อยู่ในระดับมากที่สุด ราคาและปริมาณ อยู่ในระดับมาก และด้านช่องทางการจำหน่ายซื้อง่ายและสะดวก อยู่ในระดับมาก ด้านส่งเสริมการตลาด การลดราคาหรือโปรโมชัน ณ จุดจำหน่ายอยู่ในระดับมาก

References

กนกพร ฐานะเจริญกิจ และวรัญญา ติโลกะวิชัย. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ 2560. 10 มีนาคม 2560. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2540). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติเพื่อการตัดสินใจ (พิมพ์ครั้งที่ 5). ภาควิชาสถิติคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปิยวรรณ ปาลาศ. (2563). การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาและส่งเสริมผลิตภัณฑ์อัตลักษณ์ของจังหวัดอุตรดิตถ์สู่เชิงพาณิชย์: กรณีศึกษาลางสาดและกาแฟในระบบวนเกษตร. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.

รัตพงษ์ สอนสุภาพ และบุญสม เกษะประดิษฐ์. (2561). ความมั่นคงของวิสาหกิจเพื่อสังคมเส้นทางสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน. วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ, 9(3), 27-37.

เรืองเกียรติ สุวรรณโนภาส, ระพีพรรณ พิริยะกุล และนรพล จินันท์เดช. (2561). กลยุทธ์วิสาหกิจเพื่อสังคมวัฒนธรรมองค์การและการจัดการความรู้ที่ส่งผลต่อไตรสุทธิในวิสาหกิจเพื่อสังคมไทย. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 8(3), 214-229.

สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2548). คู่มือวิสาหกิจชุมชน. สำนักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน.

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2561). วิสาหกิจเพื่อสังคม. สืบค้น 20 มิถุนายน 2561 จาก https://www.sme.go.th/th/promotion/social_enterprise.php.

Aaker, D. A. (1991). Managing Brand Equity. New York: Free Press.

Azhani, A. N., Abdullah, A. M., Zainol, Z., Omar, C. M. C., & Rahim, A. R. A. (2022). Factors influencing consumers' purchase intention towards halal cosmetic skincare products in Malaysia. SAGE Open, 12(1). https://doi.org/10.1177/21582440221078116.

Bradley, N., Dunlop, S., & Hare, C. (2022). The sustainable marketing mix. Taylor & Francis.

Defourny, J., & Nyssens, M. (2010). Conceptions of social enterprise and social entrepreneurship in Europe and the United States: Convergences and divergences. Journal of Social Entrepreneurship, 1(1), 32–53. https://doi.org/10.1080/19420670903442053.

Engel, J. F., Blackwell, R. D., & Miniard, P. W. (1995). Consumer behavior (8th ed.). Fort Worth, TX: Dryden Press.

Hawkins, D. I., & Mothersbaugh, D. L. (2010). Consumer behavior: Building marketing strategy (11th ed.). McGraw-Hill Irwin.

Hoang Cuu Long, Huynh Le Thuy Van, Dang Ngoc Khanh Thi, Oh Hyo and Nguyen Hoang Thu Trang. (2024). Factors Affecting Purchase Intention of Green Cosmetics Products Toward Young Generation in Ho Chi Minh City. International Journal of Science Academic Research. 5(1), 6830-6836. https://www.researchgate.net/publication/378032283.

Hoyer, W. D., MacInnis, D. J., & Pieters, R. (2013). Consumer behavior (6th ed.). Cengage Learning.

Kim, J., Park, S., Lee, K., & Choi, M. (2023). Factors influencing South Korean consumers' purchase decisions for skincare products. Korean Journal of Marketing, 31(2), 125-148.

Kotler, P., & Armstrong, G. (2018). Principles of marketing (17th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson.

Kotler, P., Kartajaya, H., & Setiawan, I. (2019). Marketing 4.0: Moving from traditional to digital. John Wiley & Sons.

Kotler, P., & Keller, K. L. (2016). Marketing Management (15th ed.). Boston: Pearson.

Ko, W., Han, M., & Jang, E. (2022). A study on the regulations concerning the purchase related decision making factors of interest in beauty according to the cosmeceutical perception of the tendency for practical consumption. J-Institute. https://doi.org/10.22471/protective.2022.7.2.54

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Loudon, D. L., & Della Bitta, A. J. (1993). Consumer behavior: Concepts and applications (4th ed.). New YorK: McGraw-Hill.

Loureiro, S. M. C., Lopes, R., & Kaufmann, H. R. (2021). Organic cosmetic products: what determines European Western consumer purchase intention? The Service Industries Journal, 1-21. https://doi.org/10.1080/02642069.2021.2018301.

Osterwalder, A., & Pigneur, Y. (2010). Business model generation: A handbook for visionaries, game changers, and challengers. John Wiley & Sons.

Park, H., & Lee, J. (2014). Image and perceived quality of Japanese skincare products in South Korea. Korean Journal of Japanese Studies, 22(1), 62-81.

RajyaLakshmi, N. C. (2023). Consumer buying process for cosmetics-an analysis. Indian Scientific Journal of Research in Engineering and Management. https://doi.org/10.55041/ijsrem26208

Roscoe, J. T. (1975). Fundamental Research Statistics for the Behavioral Sciences (2nd ed.). New York: Holt Rinehart and Winston, Inc.

Schiffman, L. G., & Kanuk, L. L. (2007). Consumer Behavior (9th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall.

Schiffman, L. G., & Wisenblit, J. (2019). Consumer behavior (12th ed.). Upper Saddle River, New Jersey: Person Prentice Hall.

Solomon, M. R. (2017). Consumer behavior: Buying, having, and being (12th ed.). Upper Saddle River, New Jersey: Pearson.

Solomon, M. R. (2020). Consumer behavior: Buying, having, and being (13th ed.). New Jersey: Pearson.

THAIPUBLICA. (2566). Krungthai COMPASS วิเคราะห์ตลาดเครื่องสำอางไป ต่ออย่างไร เมื่อความสวยหยุดไม่ได้. สืบค้น 28 เมษายน 2567 จาก https://thaipublica.org/2023/04/krungthai-compass51.

Yamane, T. (1967). Statistics: An introductory analysis (2nd ed.). Harper and Row.

Zeithaml, V. A. (1988). Consumer perceptions of price, quality, and value: A means-end model and synthesis of evidence. Journal of Marketing, 52(3), 2-22.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-29

How to Cite

สกุลพันธ์ ศ., วิกรมประสิทธิ ส., & ปาลาศ ป. (2025). รูปแบบธุรกิจ พฤติกรรมผู้บริโภคและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เซรั่มบำรุงผิวหน้าจากสารสกัดลางสาดเชิงพาณิชย์. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 5(1), 16–30. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JMSSNRU/article/view/3701