จักรวาลความโสดกับการท่องเที่ยวและการบริการที่พึงประสงค์

ผู้แต่ง

  • จัตตาร์พร กลางสวัสดิ์ สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • ชมพูนุท สมแสน สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • วิชญานกานต์ ขอนยาง สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • ปฏิมาภรณ์ กังวานศรีเพชร สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • ภวภาวัน ล้อมหามงคล สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

คำสำคัญ:

การท่องเที่ยวและการบริการ, การท่องเที่ยวคนโสด, การท่องเที่ยวพึงประสงค์, การบริการพึงประสงค์

บทคัดย่อ

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมในปัจจุบันทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย มีแนวโน้มของคนโสดมากยิ่งขึ้น จากการเปิดเผยข้อมูลของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพบว่า จำนวนประชากรไทยมีสถานะที่คนจะครองตัวเป็นโสดมากขึ้น ประกอบด้วยปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ค่านิยมทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้เลือกที่จะอยู่เป็นโสดมากขึ้นเรื่อย ๆ และมีแนวโน้มว่าประชากรกลุ่มนี้จะกลายเป็นกลุ่มผู้บริโภคหลัก ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความน่าสนใจ มีศักยภาพสูงในการจับจ่ายใช้สอยการซื้อสินค้าและการบริการสูง และมีแนวโน้มในการลงทุนกับตนเองในด้านการซื้อความสุขให้กับตนเอง ประกอบกับมีภาระค่าใช้จ่าย ๆ ในชีวิตประจำวันน้อยกว่ากลุ่มคนที่มีครอบครัวแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนโสดหันมาให้ความสำคัญกับการลงทุนให้กับตนเองมากขึ้นในด้านการซื้อความสุขและประสบการณ์แปลกใหม่ผ่านกิจกรรมทางการท่องเที่ยวและการบริการด้านต่าง ๆ บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาพฤติกรรมและค่านิยมของคนโสด 2. ศึกษาแนวโน้มด้านการท่องเที่ยวและการบริการสำหรับคนโสด 3. แนวทางการท่องเที่ยวและการบริการที่พึงประสงค์สำหรับคนโสด ซึ่งผู้ประกอบการ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรให้ความสำคัญในการพัฒนาปรับเปลี่ยนสินค้าทางการท่องเที่ยว และการบริการให้สอดคล้องกับค่านิยมและพฤติกรรมของคนโสด

References

ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. สืบค้น 22 มิถุนายน 2567 จาก https://dictionary.orst.go.th.

ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB EIC). (2567). จักรวาลแห่งความโสด (The universe of singleness) และโอกาสทางธุรกิจก้อนโตที่ไม่ควรมองข้าม. สืบค้น 16 มิถุนายน 2567 จากhttps://www.scbeic.com/th/detail/file/product/9440/gu08ldoun2/In-focus-The-universe-of-singleness20240305.pdf.

ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB EIC). (2565). ส่องพฤติกรรมนักท่องเที่ยว แต่ละสายคุณเป็น สายไหน ?. สืบค้น 16 มิถุนายน 2567 จาก https://www.scbeic.com/th/detail/product/8602.

ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB EIC), (2566). คนโสด ๆ อยู่ทางนี้....เที่ยวอยู่ดี ๆ อาจได้คู่ กลับไป. สืบค้น 29 มิถุนายน 2567 จาก https://www.scbeic.com/th/detail/product/single-120123.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย (2563). โสดสายเปย์ ตลาดนี้ SME ต้องเกาะติด. K SME Analysis. สืบค้น 29 มิถุนายน 2567 จาก https://www.kasikornresearch.com/SiteCollectionDocuments/analysis/k-social-media/sme/Single_Saipay/Single_Saipay.pdf.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (SEA). (2567). ทำอย่างไรเมื่อประเทศไทยเป็นสังคมคนโสด ?. สืบค้น 16 มิถุนายน 2567 จาก https://www.nesdc.go.th/download/Social/Social_Report/2567_article_q1_002.pdf.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). มาตรฐานสถิติ. สืบค้น 22 มิถุนายน 2567. จาก https://statstd.nso.go.th/definition/projectdetail.aspx?periodId=92&defprodefId=1215.

อัจฌิรา ทิวะสิงห์, สิริพร ทิวะสิงห์ และสุรพร อ่อนพุทธา. (2565). การศึกษามิติการท่องเที่ยวคนเดียวของผู้หญิงใน สังคมไทย. วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์, 8(1), 159-172. https://rsujournals.rsu.ac.th/index.php/jdbs/article/view/2003.

อรรถกฤต จันทร, ภูเกริก บัวสอน และชุติน แก้วนพรัตน์. (2566). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มที่เดินทางท่องเที่ยวโดยลำพัง (Solo Travel). วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา, 16(1), 88-111. https://so05.tcithaijo.org/index.php/ssrugraduate/article/view/262491.

Bianchi, C. (2022). Antecedents of tourists’ solo travel intentions. Tourism review, 77 (3): 780–795. DOI: https://doi.org/10.1108/TR-12-2020-0611.

Choi, S. H., Yang, E. C. L., & Tabari, S. (2020). Solo dining in Chinese restaurants: A mixed-method study in Macao. International Journal of Hospitality Management, 90, 102628. DOI: https://doi.org/10.1016/ j.ijhm.2020.102628. 14 September 2024.

Hamid, S., Ali, R., Azhar, M., & Khan, S. (2021). Solo travel and well-being amongst women: An exploratory study. Indonesian Journal of Tourism and Leisure, 2(1), 1-13. DOI: 10.36256/ijtl.v2i1.125 https://journal.lasigo.org/index.php/IJTL.

Ghai, A., & Chowdhri, S. (2022). Study On Hotel Trends Designed for Single Lady Travelers. PUSA Journal of Hospitality and Applied Sciences, 8(1), 47-61.

Otegui-Carles, A., Araújo-Vila, N., & Fraiz-Brea, J. A. (2022). Solo travel research and its gender perspective: A critical bibliometric review. Tourism and Hospitality, 3(3), 733-751. DOI: https://doi.org/10.3390/tourhosp3030045.

Yang, E. C. L., Nimri, R., & Lai, M. Y. (2022). Uncovering the critical drivers of solo holiday attitudes and intentions. Tourism Management Perspectives, 41, 100913. DOI: https://doi.org/10.1016/j.tmp.2021.100913.

Yang, E. C. L., Liang, A. R. D., & Lin, J. H. (2023). A market segmentation study of solo travel intentions and constraints. Journal of Hospitality & Tourism Research, 10963480231163517. DOI: https://doi.org/10.1177/10963480231163517.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-22

How to Cite

กลางสวัสดิ์ จ., สมแสน ช., ขอนยาง ว., กังวานศรีเพชร ป., & ล้อมหามงคล ภ. (2024). จักรวาลความโสดกับการท่องเที่ยวและการบริการที่พึงประสงค์. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 4(4), 1684–1701. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JMSSNRU/article/view/3903