การบริหารจัดการองค์กรการขนส่งทางบกในประเทศไทย: พัฒนาการ โอกาส และความท้าทาย

ผู้แต่ง

  • พิศณี พรหมเทพ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร
  • สายป่าน จักษุจินดา สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร
  • ชาติชัย อุดมกิจมงคล สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร

คำสำคัญ:

การบริหารองค์กรขนส่งทางบก, องค์กรการขนส่งทางบก, องค์กรขนส่งทางบกของภาครัฐ, องค์กรขนส่งทางบกภาครัฐวิสาหกิจ

บทคัดย่อ

การบริหารองค์กรการขนส่งทางบกในประเทศไทยภายใต้สังกัดของกระทรวงคมนาคม มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจและอำนวยความสะดวกให้กับประชาชน  แบ่งการบริหารงานออกเป็น 2 ส่วนคือ 1) หน่วยงานขนส่งภาครัฐ และ 2) หน่วยงานขนส่งภาครัฐวิสาหกิจ โดยแต่ละหน่วยงานมีบทบาทเฉพาะในการกำกับดูแลและสนับสนุนการดำเนินงานการขนส่งทางบก วัตถุประสงค์ของบทความวิชาการนี้ คือ นำเสนอการวิเคราะห์โครงสร้างและแนวทางการบริหารองค์กรการขนส่งทางบกในประเทศไทย โดยใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการบริหารองค์กรขนส่งทางบก จากการวิเคราะห์พบว่าการบริหารงานประกอบด้วยหัวหน้างานทำหน้าที่ในการกำกับงานขององค์กร และแบ่งรองหรือฝ่ายอื่น ๆ ในการสนับสนุนการบริหาร รวมถึงคณะกรรมตรวจสอบภายใน เพื่อความโปร่งใสและป้องกันการทุจริต นอกจากการบริหารงานดังกล่าวแล้วองค์กรขนส่งทางบกยังมีบทบาทสำคัญในการจัดการโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ อำนวยความสะดวกให้กับประชาชน บริหารจัดการด้านกฎระเบียบ ส่งเสริมความปลอดภัยทางท้องถนน ส่งเสริมการค้าและการส่งออก การจัดทำแผนพัฒนาการขนส่งและการวางแผนยุทธศาสตร์ในระยะยาว ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของระหว่างภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และประชาชน ดังนั้นบทความนี้ได้ทำการวิเคราะห์และสรุปการบริหารองค์กรการขนส่งทางบกในประเทศไทย ซึ่งแต่ละองค์กรมีบทบาทและหน้าที่เป็นของตนเองอย่างมีเป้าหมาย

References

กรมการขนส่งทางบก. (2563a). ประวัติกรมการขนส่งทางบก. สืบค้น 17 สิงหาคม 2567 จาก https://www.dlt.go.th/ th/history/.

กรมการขนส่งทางบก. (2563b). บทบาทและหน้าที่ของกรมการขนส่งทางบก. สืบค้น 17 สิงหาคม 2567 จาก https://www.dlt.go.th/ th/history/.

กรมการขนส่งทางบก. (2563c). การขนส่งทางบกในประเทศไทย. สืบค้น 17 สิงหาคม 2567 จาก https://www.dlt. go.th/th/history/.

กรมการขนส่งทางบก. (2563d). การพัฒนาเทคโนโลยีในระบบการขนส่งทางบก. สืบค้น 17 สิงหาคม 2567 จาก https://www.dlt.go.th/.

กรมการขนส่งทางบก. (2564). รายงานประจำปี กรมการขนส่งทางบก 2564. กรุงเทพฯ: กรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม.

กรมการขนส่งทางหลวง. (2560). กรมการขนส่งทางหลวง. สืบค้น 17 สิงหาคม 2567 จาก http://www.doh.go.th.

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย. (2563a). การจัดการทางพิเศษ.สืบค้น 19 สิงหาคม 2567 จาก https://www. exat.co.th/index.php/th.

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย. (2563b). เกี่ยวกับการทางพิเศษแห่งประเทศไทย. สืบค้น 17 สิงหาคม 2567 จาก https://www.exat.co.th/index.php/th.

กรมทางหลวง. (2560). ภารกิจของกรมทางหลวง. สืบค้น 17 สิงหาคม 2567 จาก http://www.doh.go.th.

กรมทางหลวงชนบบท. (2563). กรมทางหลวงชนบท. สืบค้น 14 สิงหาคม 2567 จาก https://drr.go.th.

ณัฐวัชร จันทโรธรณ์. (2562). ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการองค์การสมัยใหม่. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 7(2), 60-70.

ณัฐวุฒิ เอี่ยมเนตร, สุวลังก์ วงศ์สุรวัฒน์, พระครูปลัดประวิทย์ทรัพย์ อุไรรัตน์, นภัทร์ แก้วนาค และจิดาภา เร่งมีศรีสุข. (2567). นวัตกรรมการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมการบริหารจัดการองค์กรภาครัฐและภาคเอกชนในยุคดิจิทัล. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 6(1), 291-302.

บริษัทขนส่งจำกัด. (2563a). บริษัทขนส่งจำกัด. สืบค้น 19 สิงหาคม 2567 จาก https://www.egov.go.th/th/government-agency/121/.

บริษัทขนส่งจำกัด. (2563b). พันธกิจและบทบาทของ บขส. สืบค้น 19 สิงหาคม 2567 จาก https://www.egov.go.th/th/government-agency/121/.

บริษัทขนส่งจำกัด. (2566). ข้อมูลหน่วยงาน สืบค้น 19 สิงหาคม 2567 จาก https://www.egov.go.th/th/ government-agency/121/.

ปาริชาติ คุณปลื้ม. (2566). การบริหารจัดการเมืองอัจฉริยะในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 20(1), 99-108.

ผจงจิตต์ วงศ์ธีรญาณเดช. (2551). รูปแบบการดำเนินชีวิตของข้าราชการไทยภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ยุวรี ณ เสน และวิษณุ สุมิตสวรรค์. (2562). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทยในการจัดบริการสาธารณะกรณีศึกษาเทศบาลนครในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 13(1), 293-301.

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2559). โครงสร้างสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. สืบค้น 19 สิงหาคม 2567 จาก http://www.otp.go.th/index.php/post/view?id=1332.

องค์กรขนส่งมวลชลกรุงเทพ. (2563). โครงสร้างการบริหาร. สืบค้น 19 สิงหาคม 2567 จาก http://www.bmta. co.th/th/home.

Deutsche Bahn AG. (2023). Company profile. Retrieved 1 September 2024 from https://www.bahn.com.

Netirith, N. (2021). The optimization of transport route from Chon Buri, Thailand to Kunming, China by Using AHP and TOPSIS. Naresuan University Journal: Science and Technology, 29(4), 22-42.

Netirith, N., & Ji, M. (2022). Analysis of the Efficiency of Transport Infrastructure Connectivity and Trade. Sustainability, 14(15), 9613.

Transport for London. (2023). About TfL. Retrieved 1 September 2024 from https://tfl.gov.uk.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-29

How to Cite

พรหมเทพ พ., จักษุจินดา ส., & อุดมกิจมงคล ช. (2025). การบริหารจัดการองค์กรการขนส่งทางบกในประเทศไทย: พัฒนาการ โอกาส และความท้าทาย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 5(1), 278–292. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JMSSNRU/article/view/3948