ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

ผู้แต่ง

  • รัฐศฺมา เหมะธุลิน -

คำสำคัญ:

พฤติกรรมการหมวกนิรภัย

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

              การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยและปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของนักศึกษาจาก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร จำนวน 381 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรรวนทางเดียว ผู้วิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการของนักศึกษาจากการสวมหมวกนิรภัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร มี 3 ด้าน ได้แก่ด้านพุทธิพิสัยโดยรวมอยู่ในระดับน้อยที่สุด (  = 1.90) ด้านจิตพิสัยโดยรวมอยู่ในระดับน้อยที่สุด (  = 1.94) และ ด้านทักษะพิสัยโดยรวมอยู่ในระดับน้อย (  = 2.07) 2) การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครตามปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ 3) การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ตามปัจจัยส่วนบุคคลด้านคณะ รายได้ การสมหมวกนิรภัยในขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ ประสบการณ์ประสบอุบัติเหตุในการขับขี่

คำสำคัญ : พฤติกรรมการหมวกนิรภัย

 

References

ณัฐบดี วิริยาวัฒน์ และสุรชาติ สินวรณ์. (2555). พฤติกรรมการใช้หมวกนิรภัยในการป้องกัน อุบัติเหตุของ

นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. วารสารวิจัย มสด. 5(2) กรกฎาคม – ธันวาคม 2555.

ดิสกุล ชลศาลาสินธุ์. (2558). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจในการสวมหมวกนิรภัยโดยทฤษฎี แบบ

แผน ความเชื่อด้ำนสุขภาพ. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา วิศวกรรมขนส่ง,

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

บรรจง พลไชย และอุทัยวรรณ สุกิมานิล. (2554). พฤติกรรมการใช้หมวกนิรภัยของนักศึกษา พยาบาล

มหาวิทยาลัยนครพนม. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 5(2) พฤษภาคม – สิงหาคม. 2554.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวียาสาส์น.

บุษบา จันทร์ผ่อง. (2542). สวัสดิศึกษา. ภูเก็ต: สถาบันราชภัฏภูเก็ด.

ประเสริฐ เก็มประโคน. (2539). ความพร้อมของผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ต่อการบังคับใช้กฎหมาย หมวกนิรภัย

: ศึกษาเฉพาะกรณีเขตกำรสาธารณสุขที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล,

บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาเอกบริหารกฎหมายการแพทย์และ สาธารณสุข.

Taro Yamane. (1970). Statistic: an Introductory Analysis. 2nd ed. New York : Harper & Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-17