ความหมายของ “กฎหมาย” ภายใต้แนวคิดว่าด้วยสัญญาประชาคมของรุสโซ
DOI:
https://doi.org/10.14456/mfulj.2023.15คำสำคัญ:
กฎหมาย, รุสโซ, สัญญาประชาคมบทคัดย่อ
ภายใต้งานเขียนของรุสโซเรื่องสัญญาประชาคมนั้น กฎหมายมีบทบาทที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการกำเนิดรัฐ และยังถือเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะทำให้ประชาชนทั้งหลายมีเสรีภาพอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม งานทางวิชาการที่พยายามจะตีความความหมายของคำว่ากฎหมายในบริบทของงานของรุสโซกลับพบเห็นได้ยากในประเทศไทย โดยภายใต้การตรวจสอบงานของรุสโซเรื่องสัญญาประชาคม และงานของนักคิดชาวต่างชาติ จะพบว่าคำว่ากฎหมายในงานของรุสโซนั้นหมายความถึงกฎหมายรัฐธรรมนูญ ไม่ได้หมายถึงกฎหมายในความเข้าใจทั่ว ๆ ไป
Downloads
References
Christopher Bertram, Jean Jacques Rousseau in The Stanford Encyclopedia of Philosophy, (Metaphysics Research Lab: Stanford University, 2020).
Frank Marin, Popular Sovereignty but Representative Government: The Other Rousseau, Midwest Journal of Political Science, Volume 11 Issue 4 (November 1967).
Jean-Jacques Rousseau, The Social Contract, Translated by G. D. H. Cole, Edited by Jonathan Bennett, (1762).
Joel Colón-Ríos, Constituent Power and the Law, (New York: Oxford University Press, 2020).
Hans Kelsen, The Essence and Value of Democracy, (Lanham: Rowman & Littlefield Publishers, 2013).
เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์, หลักพื้นฐานกฎหมายมหาชน, พิมพ์ครั้งที่ 6 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2563).
ณัฐดนัย นาจันทร์, หลักกฎหมายมหาชนเบื้องต้น, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์นิติธรรม, 2562).
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, กฎหมายมหาชน เล่ม 1 วิวัฒนาการทางปรัชญาและลักษณะของกฎหมายมหาชนยุคต่าง ๆ, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.