เจตนารมณ์และผลสัมฤทธิ์ขององค์การมหาชนในประเทศไทย: พัฒนาการ และความเปลี่ยนแปลง

ผู้แต่ง

  • วัชระ กลิ่นสุวรรณ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
  • สมพงษ์ แซ่ตัน สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
  • เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์ ศาสตราจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

DOI:

https://doi.org/10.14456/mfulj.2024.2

คำสำคัญ:

องค์การมหาชน, บริการสาธารณะ, เจตนารมณ์และผลสัมฤทธิ์, พัฒนาการและความเปลี่ยนแปลง

บทคัดย่อ

องค์การมหาชนเป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดทำบริการสาธารณะ เป็นที่รับรู้และเข้าใจว่าเป็นหน่วยงานที่มีความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ แตกต่างจากส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ ซึ่งจากการศึกษาพบว่า องค์การมหาชนมีเจตนารมณ์ที่ชัดเจนมาตั้งแต่ก่อนจัดระบบองค์การมหาชน มีความคาดหวังในการวัดผลสัมฤทธิ์ขององค์กรให้แตกต่างจากส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ แม้ว่าจะมีพัฒนาการและความเปลี่ยนแปลง แต่เจตนารมณ์และความคาดหวังต่อผลสัมฤทธิ์ยังคงไม่ได้เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเมื่อสังคมเปลี่ยนแปลงไป ความต้องการของประชาชนให้องค์การมหาชนสามารถจัดทำบริการสาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งเป็นความคาดหวังที่แจ่มชัดขึ้น โดยมีหลักการสำคัญทางกฎหมายมหาชนที่อาจสะท้อนความเป็นองค์การมหาชนได้ คือ หลักบริการสาธารณะ หลักความเป็นอิสระ หลักความเป็นนิติบุคคล หลักความมีประสิทธิภาพ หลักความคล่องตัว และหลักความรับผิดชอบ ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นหลักการเบื้องหลังของการจัดตั้งหน่วยงานลักษณะนี้ ดังนั้น หากมีการสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจต่อความเป็นองค์การมหาชน รวมถึงมีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายโดยกำหนดให้มีมาตรการหรือมาตรฐานกลางให้องค์การมหาชนต้องปฏิบัติจนสามารถวัดผลสัมฤทธิ์ได้ครบถ้วนตามหลักการสำคัญดังกล่าว จะส่งผลให้องค์การมหาชนสามารถจัดทำภารกิจในการบริการสาธารณะเพื่อประเทศชาติและประชาชนได้อย่างแท้จริง

Downloads

Download data is not yet available.

References

กองกิจการองค์การมหาชนและหน่วยงานของรัฐรูปแบบอื่น, รวมมติคณะรัฐมนตรีและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับองค์การมหาชน, (ปทุมธานี: บริษัท ลัค ไอเดีย จำกัด, 2562).

กัลยาณี คูณมี, รายงานผลการศึกษาการจัดสรรสิ่งจูงใจของส่วนราชการ สถาบันอุดมศึกษาและจังหวัด ฉบับย่อ, (กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.), 2550).

เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์, หลักพื้นฐานกฎหมายมหาชน, พิมพ์ครั้งที่ 9 (กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2566).

คณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ, แผนแม่บทการปฏิรูประบบราชการ (พ.ศ. 2540 - พ.ศ. 2544), (กรุงเทพฯ: คณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ สำนักเลขานุการ คณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ, 2540).

ญาณพล แสงสันต์, รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาแนวทางการประเมินความคุ้มค่ามูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและสังคมขององค์การมหาชน, (กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.).

ปรัชญา เวสารัชช์, การสัมมนาวิชาการประจำปี 2539 เรื่อง ปฏิรูปภาคราชการเพื่ออนาคตของไทย ภาคการประชุมที่ 4 ปฏิรูปราชการเพื่ออนาคต: ยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://tdri.or.th/2013/05/y96d/

วัชระ กลิ่นสุวรรณ, สมพงษ์ แซ่ตัน และเกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์, ปัญหาความเป็นอิสระขององค์การมหาชนในประเทศไทย, วารสารนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์, ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2566).

วุฒิสาร ตันไชย และคณะ, การประเมินผลองค์การมหาชนและหน่วยงานในกำกับของรัฐ, (กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2547).

สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานรัฐบาล, (กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.), 2548).

สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ โครงการการปรับปรุงโครงสร้างและระบบบริหารงานจังหวัดให้มีศักยภาพสูงเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศในอนาคต (Thailand 4.0), (กรุงเทพฯ: กองพัฒนาระเบียบราชการส่วนภูมิภาคและความสัมพันธ์กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.), 2560).

สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สำนักงาน ก.พ.ร., รายงานการศึกษาหน่วยงานราชการรูปแบบใหม่ (ฉบับสมบูรณ์) โครงการศึกษาหน่วยราชการรูปแบบใหม่, (กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.), 2561).

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, ความรู้เกี่ยวกับองค์การมหาชน, (กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2548).

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, มติ ครม. องค์การมหาชน [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://po.opdc.go.th/content/filelist/MjU3

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, รายงานผลการศึกษาการปรับบทบาทหน้าที่ ภารกิจ โครงสร้าง และการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินการของส่วนราชการ โครงการพัฒนารูปแบบโครงสร้างและระบบบริหารงานภาคราชการให้มีความยืดหยุ่นคล่องตัวสูง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://www.opdc.go.th/content/filelist/Njk3OA

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, รายงานการประเมินองค์การมหาชนตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ [ออนไลน์], แหล่งที่มา:https://po.opdc.go.th/content/MTI0

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, องค์การมหาชน ที่จัดตั้งโดยพระราชกฤษฎีกาตาม พ.ร.บ. 2542 [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://po.opdc.go.th/content/OTU

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, CPER เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์และประเมินความคุ้มค่าองค์การมหาชน [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://po.opdc.go.th/content/NDc0Nw

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, องค์การมหาชนที่จัดตั้งตาม พ.ร.บ. เฉพาะ [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://po.opdc.go.th/content/MTg4

สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, เอกสารประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ) [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://dl.parliament.go.th/handle/20.500.13072/450702

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ, วาระปฏิรูปพิเศษ 7 : การปฏิรูปองค์การมหาชน, (กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2558).

สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยเรื่องการศึกษาระบบกฎหมายที่ใช้บังคับกับหน่วยงานบริการรูปแบบพิเศษ, (กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.), 2551).

สุรพล นิติไกรพจน์, รายงานการวิจัยเรื่องการปรับปรุงโครงสร้างทางกฎหมายในการจัดการองค์กรในภาคมหาชน: ความเป็นไปได้และแนวทางในการตรากฎหมายจัดตั้งองค์กรของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ, (กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2541).

สุรพล นิติไกรพจน์, องค์การมหาชน: แนวคิด รูปแบบ และวิธีการบริหาร, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ สำนักงาน ก.พ., 2542).

สุรพล นิติไกรพจน์, ความเป็นไปได้และแนวทางการตรากฎหมายจัดตั้งองค์การมหาชน, (กรุงเทพฯ: สำนักงาน ก.พ., 2543).

สุวิทย์ อมรนพรัตนกุล และคณะ, หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐในกำกับของฝ่ายบริหาร, (กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2553).

Christensen T., Lægreid P., Roness P.G., Organization and the Public Sector: Instrument, Culture and Myth, (New York: Routledge, 2007).

Hal G. Rainey. (2014), Understanding and Managing Public Organizations, 5th ed. (San Francisco: A Wiley Imprint, 2014).

Ospina, S., Managing Diversity in Civil Service: A Conceptual Framework for Public Organizations [Online], Source:

https://www.researchgate.net/publication/237570455_Managing_Diversity_in_Civil_Service_A_Conceptual_Framework_for_Public_Organizations

Downloads

เผยแพร่แล้ว

22.01.2024

How to Cite

กลิ่นสุวรรณ วัชระ, แซ่ตัน สมพงษ์, และ เจริญธนาวัฒน์ เกรียงไกร. 2024. “เจตนารมณ์และผลสัมฤทธิ์ขององค์การมหาชนในประเทศไทย: พัฒนาการ และความเปลี่ยนแปลง”. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 7 (1):43-76. https://doi.org/10.14456/mfulj.2024.2 .