กฎหมายลิขสิทธิ์ไทยเปิดโอกาสให้ศาลสร้างข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ใหม่หรือไม่
DOI:
https://doi.org/10.14456/mfulj.2021.7คำสำคัญ:
Article 9 (2) of the Berne Convention (Paris Act), Article 13 of TRIPS Agree-ment, พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 (ตามที่แก้ไขแล้ว) มาตรา 32, ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์, การใช้โดยธรรมบทคัดย่อ
ในบทความนี้ ผู้เขียนพยายามหาคำตอบว่าพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 (ตามที่แก้ไขแล้ว) เปิดโอกาสให้ศาลสร้างข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ใหม่หรือไม่ โดยเน้นพิจารณามาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว
เพื่อให้การพิจารณาข้างต้นครอบคลุมมากขึ้น ผู้เขียนอ้างอิงโดยสังเขปถึงเงื่อนไขสามประการของข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ที่ Berne Convention (Paris Act, 1971), Article9 (2) และ TRIPS Agreement, Article 13 ได้กำหนดไว้ (หรือที่เรียกว่า “3-Step Test”) ด้วย ทั้งนี้ เพราะความตกลงระหว่างประเทศทั้งสองฉบับมีผลผูกพันประเทศไทย นอกจากนั้นแล้ว ด้วยเหตุที่ไม่มีแนวปฏิบัติว่าด้วยการปรับใช้เงื่อนไขตาม 3-Step Test ที่ผูกพันประเทศสมาชิกของ Berne Convention และ TRIPS Agreement ผู้เขียนจึงนำความเห็นของ WTO Panel on United States – Section 110 (5) of the US Copyright Act (WT/DS160/R, 15 June 2000) และคำอธิบายเกี่ยวกับ 3-Step Test มาประกอบการพิจารณาด้วย คำอธิบายดังกล่าวปรากฏใน A Handbook on the WTO TRIPS Agreement (2020) และ Guide to the Berne Convention for the Protection of Literary and Artistic Works (Paris Act, 1971)
ผลของการพิเคราะห์ทำให้ผู้เขียนสรุปว่า พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ฯ ไม่เปิดโอกาสให้ศาลมีดุลยพินิจกว้าง ข้อสรุปนี้ทำให้ผู้เขียนเสนอว่า ตราบใดที่ยังไม่มีการแก้ไขพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ฯ หากมีข้อพิพาทเกิดขึ้น จำเลยควรตรวจสอบดูว่าจะอาศัยข้อยกเว้นหนึ่งข้อยกเว้นใด ที่ปรากฏอย่างแจ้งชัดในกฎหมายได้หรือไม่
Downloads
References
พระราชบัญญัติคุ้มครองวรรณกรรมและศิลปกรรม พุทธศักราช 2474
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2521
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ตามที่แก้ไขแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5843/2543
คำพิพากษาศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง คดีหมายเลขดำที่ ทป. 145/2545 คดีหมายเลขแดงที่ ทป. 116/2546
กรมทรัพย์สินทางปัญญา, คู่มือการใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรม [ออนไลน์], แหล่งที่มา:http://www.ipthailand.go.th/images/781/manual_copyright.pdf
ปริญญา ดีผดุง, ปัญหาการคุ้มครองสิทธิตามกฎหมายลิขสิทธิ์, เอกสารประกอบการบรรยายโครงการอบรมหลักสูตรพิเศษ ประกาศนียบัตรกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา รุ่นที่ 3, สํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 9 เมษายน - 16 พฤษภาคม 2547.
พิศวาท สุคนธพันธุ์ และณัฐพงศ์ สุวรรณอินทร์, การล้อเลียนงานอันมีลิขสิทธิ์กับกฎหมายลิขสิทธิ์ไทย: กรณีศึกษาปัญหาการตีความว่าด้วยการใช้งานที่เป็นธรรม, วารสารรามคำแหง ฉบับนิติศาสตร์, ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2563).
สมชาย รัตนชื่อสกุล, การแปรรูปสัมบูรณ์ในงานอันมีลิขสิทธิ์: ข้อพิจารณาจากคดีกูเกิ้ล (Transformation on Copyright Work: Consideration from the Google’s Case, วารสารวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2559): 148, 167. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: http://utcc2.utcc.ac.th/lawjournal/81/Somchai.pdf
อรพรรณ พนัสพัฒนา, คำอธิบายกฎหมายลิขสิทธิ์, พิมพ์ครั้งที่ 6 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557).
World Trade Organization, Agreement on Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights (TRIPS Agreement) that is Annex 1C of the Marrakesh Agreement Establishing the World Trade Organization, signed in Marrakesh, Morocco on 15 April 1994 [Online], Source: https://www.wto.org/english/docs_e/legal_e/27-trips_01_e.htm
World Intellectual Property Organization, Berlin Act, 1908 Revised Berne Convention for the Protection of Literary and Artistic Works of November 13, 1908 and Berne Additional Protocol, 1914 Additional Protocol to the Revised Berne Convention of November 13, 1908 of March 20, 1914 [Online], Source: https://www.wipo.int/edocs/pubdocs/en/wipo_pub_berne_birpi.pdf
World Intellectual Property Organization, Berne Convention for the Protection of Literary and Artistic Works, Paris Act (1971) [Online]. Source: https://wipolex.wipo.int/en/text/283698
US Copyright Office, Chapter 1: Subject Matter and Scope of Copyright [Online], Source: https://www.copyright.gov/title17/92chap1.html
Justia, The Authors Guild Inc., et al. v. Google, Inc., No. 12-3200 (2d Cir. 2013) [Online], Source: https://law.justia.com/cases/federal/appellate-courts/ca2/12-3200/12-3200-2013-07-01.html
Justia, Campbell v. Acuff-Rose Music, 510 U.S. 569 (1994) [Online], Source: https://supreme.justia.com/cases/federal/us/510/569/case.pdf
Supreme Court of the United States, Google LLC v. Oracle America, Inc., 593 U.S. _______ (2021) (U.S. Supreme Court; decided on 5 April 2021) [Online], Source: https://www.supremecourt.gov/opinions/20pdf/18-956_d18f.pdf
Nandana Indananda and Suebsiri Taweepon, Fair Use: A Narrow Exception to Copyright Infringement in Thailand [Online], Source: https://www.tilleke.com/resources/fair-use-narrow-exception-copyright-infringement-thailand
World Intellectual Property, Guide to the Berne Convention for the Protection of Literary and Artistic Works (Paris Act, 1971) [Online], Source: https://www.wipo.int/edocs/pubdocs/en/copyright/615/wipo_pub_615.pdf
World Trade Organization, A Handbook on the WTO TRIPS Agreement, 2nd Edition, (Cambridge: 2020), (edited by Antony Taubman, Hannu Wager, and Jayashree Watal).
World Trade Organization, Report of the WTO Panel on (the Case of) Unites States – Section 110 (5) of the US Copyright Act (WT/DS160/R, 15 June 2000) [Online], Source: https://www.wto.org/english/tratop_e/dispu_e/1234da.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.