มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันผลกระทบจากการขับขี่ภายใต้อิทธิพลของยาออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทเพื่อความปลอดภัยสาธารณะในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • อานนท์ จำลองกุล นักศึกษาปริญญาเอกสาขานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

คำสำคัญ:

การขับขี่ภายใต้อิทธิพล, ความปลอดภัยสาธารณะ, ยาออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท

บทคัดย่อ

การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรของประเทศไทยอยู่ในระดับสูง ส่วนหนึ่งมาจากการขับขี่ภายใต้อิทธิพลของยาออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ คือ เพื่อศึกษาหลักการสากลในการควบคุมการขับขี่ เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายของไทยและต่างประเทศ และเพื่อเสนอต้นแบบมาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสม ผลการศึกษาพบว่าหน่วยงานด้านนโยบายความปลอดภัยทางถนนของไทยมีหลายหน่วยงาน มีการกำหนดระดับสูงสุดของแอลกอฮอล์และเพิ่มโทษสำหรับผู้เสพแอมเฟตามีนและเมทแอมเฟตามีน การตรวจร่างกายผู้ขับขี่เป็นไปตามหลักสากล มีการกำหนดบทลงโทษ ได้แก่ โทษปรับ จำคุก พักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต และการตัดคะแนนความประพฤติ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ได้แก่ ควรยกระดับหน่วยงานเพื่อกำกับดูแลปัญหาเฉพาะด้าน ควรเพิ่มนิยาม “ของเมาอย่างอื่น” ในมาตรา 43 (2) แห่งพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 ควรกำหนดให้การขับขี่ภายใต้อิทธิพลของยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ทั้งหมดตามประมวลกฎหมายยาเสพติดถือว่ามีความผิดมาตรา 43 ทวิ ร่วมกับการกำหนดโทษและระดับสูงสุดของยาชนิดอื่น ควรกำหนดระยะเวลาควบคุมตัวผู้ขับขี่ให้ชัดเจน ควรกำหนดระยะเวลาห้ามการเสพยาหลังสิ้นสุดการขับขี่ ควรกำหนดค่าปรับโดยใช้รายได้ ระดับยา และการกระทำผิดซ้ำเป็นฐาน ควรเพิ่มโทษริบทรัพย์สิน ควรตรวจคัดกรองการเสพยาจากน้ำลาย และผู้กระทำผิดควรถูกเบี่ยงเบนเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางเลือก

Downloads

Download data is not yet available.

References

กรมควบคุมโรค, แผนโลกทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 2021-2030 (Global Plan for the Decade of Action for Road Safety 2021-2030) [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1357720221213073508.pdf

ศูนย์ข้อมูลอุบัติเหตุ, รายงานสถิติผู้ประสบภัยจากรถทั่วประเทศ [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://app.powerbi.com/view?r=eyJrIjoiZWFkZWYzNjMtMzlmNy00ZGI1LWJkNTItNGQ3ZDk2MDNkMGVmIiwidCI6IjBiNTRkMTRlLTMyYTktNGEyMC1iOTVhLTgzMWQ0ZTQ5MmE5NyIsImMiOjEwfQ%3D%3D

ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน, แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561 - 2564, (กรุงเทพมหานคร: ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน, 2562).

สำนักทะเบียนกลาง, ประกาศจำนวนประชากร [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://stat.bora.dopa.go.th/stat/pk/pk_65.pdf

อานนท์ จำลองกุล, เอทิลแอลกอฮอล์ในมุมมองนิติเวชศาสตร์, จุฬาลงกรณ์เวชสาร, ปีที่ 60 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม 2559).

Alberto Blandino and others, Driving under the influence of drugs: Correlation between blood psychoactive drug concentrations and cognitive impairment. A narrative review taking into account forensic issues, Forensic Science International: Synergy, Volume 4 (March 2022).

European Commission, Prevention of driving under the influence of alcohol and drugs: final report, (Luxembourg: Publications Office of the European Union, 2022).

European Commission, Road safety in the EU: fatalities below pre-pandemic levels but progress remains too slow [Online], Source: https://ec.europa.eu/commission/presscorner/detail/en/ip_23_953

European Commission, 2021 road safety statistics: what is behind the figures? [Online], Source: https://transport.ec.europa.eu/2021-road-safety-statistics-what-behind-figures_en#:~:text=EU%3A%20On%20average%2C%2044%20road,44%20road%20deaths%20per%20million

European Transport Safety Council, DRINK-DRIVING FACT FILE DENMARK [Online], Source: https://etsc.eu/wp-content/uploads/SMART-COUNTRY-ANALYSIS_DK_05.pdf

European Transport Safety Council, DRINK-DRIVING FACT FILE IRELAND [Online], Source: https://etsc.eu/wp-content/uploads/SMART-COUNTRY-ANALYSIS_IRELAND_03.pdf

European Transport Safety Council, DRINK-DRIVING FACT FILE NORWAY [Online], Source: https://etsc.eu/wp-content/uploads/SMART-COUNTRY-ANALYSIS_NORWAY_02.pdf

European Transport Safety Council, DRINK-DRIVING FACT FILE SWEDEN [Online], Source: https://etsc.eu/wp-content/uploads/SMART-COUNTRY-ANALYSIS_SWEDEN_04.pdf

European Transport Safety Council, DRINK-DRIVING FACT FILE SWITZERLAND [Online], Source: https://etsc.eu/wp-content/uploads/SMART-COUNTRY-ANALYSIS_SWITZERLAND_03.pdf

Global Road Safety Parnership, International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies, Drink Driving: a road safety manual for decision-makers and practitioner, (Geneva: Global Road Safety Partnership, 2022).

Kim Wolff and Atholl Johnston, Cannabis use: a perspective in relation to the proposed UK drug-driving legislation, Drug Testing and Analysis, Volume 6 Issue 1-2 (2014).

Organisation for Economic Co-operation and Development, The Safe System Approach in Action, (Paris: OECD Publishing, 2022).

United Nations Genreal Assembly, A/RES/74/299 Improving Global Road Safety [Online], Source: https://www.un.org/pga/76/wp-content/uploads/sites/101/2021/11/A_RES_74_299_E.pdf

United Nations Genreal Assembly, Improving global road safety [Online], Source: https://documents-dds-ny.un.org/doc/UNDOC/GEN/N20/226/30/PDF/N2022630.pdf?OpenElement

World Health Organization, Drug use and road safety: a policy brief, (Geneva: WHO Document Production Services, 2016).

World Health Organization, Global status report on road safety 2018, (Geneva: World Health Organization, 2018).

World Health Organization, Review of Thailand’s status against voluntary global targets for road safety risk factors and service delivery mechanism, (Bangkok: World Health Organization Country Office for Thailand, 2020).

World Health Organization, The SAFER technical package: five areas of intervention at national and subnational levels, (Geneva: World Health Organization, 2019).

Xinxin Guo et al., Highly sensitive and specific noninvasive in-vivo alcohol detection using wavelength-modulated differential photothermal radiometry, Biomedical Optics Express, Volume 9 Issue 10 (September 2018).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

10.07.2024

How to Cite

จำลองกุล อานนท์. 2024. “มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันผลกระทบจากการขับขี่ภายใต้อิทธิพลของยาออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทเพื่อความปลอดภัยสาธารณะในประเทศไทย”. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2024 (7):331-83. https://so08.tci-thaijo.org/index.php/MFULJ/article/view/3167.