ความรับผิดทางอาญาในขั้นสมคบ ตระเตรียม พยายาม และบรรลุผล
DOI:
https://doi.org/10.14456/mfulj.2025.8คำสำคัญ:
ความรับผิดทางอาญา, สมคบ, ตระเตรียม, พยายาม, บรรลุผลบทคัดย่อ
โดยปกติแล้วความรับผิดทางอาญามีจุดเริ่มต้นที่ขั้น “พยายาม” และไปสิ้นสุดที่ขั้น “บรรลุผล” อย่างไรก็ดี มีบางกรณีที่ความรับผิดทางอาญามีจุดเริ่มต้นที่ขั้น “ตระเตรียม” และ “สมคบ” บทความนี้ได้นำเสนอเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยเชิงนิติศาสตร์เกี่ยวกับความรับผิดทางอาญาในขั้นสมคบ ตระเตรียม พยายาม และบรรลุผล เช่น ผลทางกฎหมายของการกระทำแต่ละขั้น เมื่อใดที่การกระทำได้ผ่านพ้นขั้นหนึ่งเข้าสู่อีกขั้นหนึ่งแล้ว และเมื่อการกระทำได้ผ่านพ้นขั้นหนึ่งเข้าสู่อีกขั้นหนึ่งแล้วผู้กระทำต้องรับผิดในขั้นใด
Downloads
References
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์, กฎหมายอาญาภาคความผิด เล่ม 2, พิมพ์ครั้งที่ 6 (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์กรุงสยาม พับลิชชิ่ง, 2557).
คณพล จันทน์หอม, คำอธิบายกฎหมายอาญาภาคความผิด เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 5 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2565).
จิตติ ติงศภัทิย์, คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1, พิมพ์ครั้งที่ 11 (กรุงเทพมหานคร: เนติบัณฑิตยสภา, 2555).
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ, มุมมองใหม่ในกฎหมายอาญา, พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2556).
วิวรรธน์ ดำรงค์กุลนันท์, การเพิ่มโทษตัวการ ผู้ใช้ และผู้สนับสนุน ในกรณีผู้กระทำความผิดเป็นผู้ที่มีความอ่อนแอทางร่างกายหรือจิตใจหรืออยู่ในภาวะจำยอม, วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปีที่ 50 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2564).
วิวรรธน์ ดำรงค์กุลนันท์, คู่มือสัมมนากฎหมายอาญา, พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เดือนตุลา, 2565).
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://dictionary.orst.go.th
หยุด แสงอุทัย (บรรณาธิการโดย ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ), กฎหมายอาญา ภาค 2-3, พิมพ์ครั้งที่ 11 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553).
Andrew Ashworth and Lucia Zedner, Preventive Justice, (Oxford: Oxford University Press, 2014).
Andrew Cornford, Preventive Criminalization, New Criminal Law Review: An International and Interdisciplinary Journal, Volume 18 Issue 1 (2015).
Johannes Keiler and David Roef, Principles of Criminalisation and the Limits of Criminal Law in Comparative Concepts of Criminal Law, Editor by Johannes Keiler and David Roef, 3rd edition (Cambridge: Intersentia, 2019).
Paul Kichyun Ryu, Contemporary Problems of Criminal Attempts, New York University Law Review, Volume 32 (1957).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.