การวิจัยเชิงประจักษ์

ผู้แต่ง

  • ณัฐพล ขันธไชย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

คำสำคัญ:

การวิจัยเชิงประจักษ์, วิธีการทางวิทยาศาสตร์, เหตุผล-ประจักษ์นิยม, วิธีการเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงประจักษ์เป็นการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เพราะมีกระบวนการดำเนินการเป็นขั้นตอน สามารถตรวจสอบและกระทำซ้ำได้เพื่อรับประกันความถูกต้องของผลการวิจัย ตามหลักการของวิธีการทางวิทยาศาสตร์

การวิจัยเชิงประจักษ์เป็นการวิจัยซึ่งใช้หลักฐานจริงหรือข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นเหตุผลทำให้เชื่อถือว่าเป็นจริง

การวิจัยเชิงประจักษ์ เป็นการวิจัยซึ่งใช้หลักการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และการแปลความหมาย ด้วยวิธีการเชิงปริมาณร่วมกับวิธีการเชิงคุณภาพ

กล่าวโดยสรุป การวิจัยเชิงประจักษ์ดำเนินการตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การใช้หลักการใช้หลักฐานหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ และการใช้ประโยชน์เสริมกัน ของการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ รวมทั้งใช้หลักแนวความคิดและการสรุปผลการวิจัยตามหลักการเหตุผลเชิงประจักษ์นิยม ของ Aristotle ซึ่งสามารถสืบค้นต้นกำเนิดตั้งแต่ 384-322 ก่อนคริสตกาล

References

Bouchrika, I. (2023). What is empirical research? Definition, types & samples. Retrieved from https://research.com/research/what-is-empirical-research

Creswell, J. W. (2007). Qualitative inquiry and research design: Choosing among five approaches (3rd ed.). Sage.

Creswell, J. W. (2009). Research design: Qualitative, qualitative, and mixed methods approaches (3rd ed.). Sage.

Exereise Professional Education. (2020). Modern rational empiricism: A thinking model. Retrieved from https://www.exerciseproed.com/modern-rational-empiricism-a-thinking-model

Formplus. (2020). What is empirical research study? [examples & method]. Retrieved from https://www.formpl.us/blog/empirical-research

Lorenz, H., & Morison, B. (2019). Aristotle’s empiricist theory of doxastic knowledge. Retrieved from https://brill.com/view/journals/phro/64/4/article-p431_3.xml

Quora. (2017). Was Aristotle a rationalist or an empiricist?. Retrieved from https://www.quora.com/Was-Aristotle-a-rationalist-or-an-empiricist

Simon, J. L. (1969). Basic research methods in social science: The art of empirical investigation. Random House.

Wikipedia. (2023). Aristotle. Retrieved from https://en.wikipedia.org/wiki/Aristotle

Ziguras, J. (2021). Aristotle’s rational empiricism: A goethean interpretation of Aristotle’s theory of knowledge. Retrieved from https://www.academia.edu/10833970/Aristotles_Rational_Empiricism_A_Goethean_Interpretation_of_Aristotles_Theory_of_Knowledge

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-28