การบริหารกิจการนิสิตนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาด้านกิจกรรมการพัฒนานิสิตระดับอุดมศึกษาตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์

ผู้แต่ง

  • พระธีรวัฒน์ อั้นเต้ง Chulalongkorn University

คำสำคัญ:

การบริหารนิสิตนักศึกษา, การพัฒนานิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา, คุณลักษณะที่พึงประสงค์

บทคัดย่อ

บทความนี้ได้ทำการศึกษากิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ซึ่งการศึกษาได้ประเด็นหลักสำคัญในการนำเสนอ ดังนี้ (1) แนวทางการบริหารกิจการนิสิตนักศึกษา (2) การพัฒนานิสิตนักศึกษาแบบองค์รวม (3) การพัฒนานิสิตนักศึกษาการบูรณาการทักษะวิชาชีพและทักษะคนและสังคม (4) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตไทย (5) กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์

การบริหารกิจการนิสิตนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาด้านกิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ การมีสุขภาวะที่ดีครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ สุขภาวะกาย สุขภาวะจิต สุขภาวะสังคม และสุขภาวะปัญญา กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ประกอบไปด้วย 6 ด้าน ดังนี้ (1) กิจกรรมด้านวิชาการ (2) กิจกรรมด้านความมีวินัยและความรับผิดชอบ (3) กิจกรรมด้านบําเพ็ญประโยชน์ (4) กิจกรรมด้านความมีสุขภาพกาย (5) กิจกรรมด้านสุนทรียภาพทั้งทางด้านศิลปะดนตรี (6) กิจกรรมด้านความกตัญญูกตเวที

References

นันทพงศ์ หมิแหละหมัน, นรรถสรรพ เล็กสู่, เฉลิมชาติ เมฆแดง และวัฒนา จินดาวัฒน์. (2563). การใช้กิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตไทย. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 6(2), 559-567.

สโมสรนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2553). รายงานประจำปี สโมสรนักศึกษา คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2553. ผู้แต่ง.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2560). สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา. ผู้แต่ง.

สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม, สำนักส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา. (2562). ยุทธศาสตร์การพัฒนานิสิต นักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (พ.ศ. 2560-2564) (พิมพ์ครั้งที่ 2). ผู้แต่ง.

สุรัตนา มีขำ และวุฒิชัย อารักษ์โพชฌงค์. (2555). แนวทางการพัฒนางานกิจการนักศึกษา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. การประชุมวิชาการแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 9 (หน้า 1063-1073). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม, กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย

Bonwell, C. C., & Eison, J. A. (1991). Active learning: Creating excitement in the classroom. The George Washington University, School of Education and Human Development.

Felder, R. M., & Brent, R. (1996). Navigating the Bumpy road to student-centered instruction. College Teaching, 44(2), 43-47.

LeCluyse, J. (2015). A holistic approach to student success. Collegiate Project Services.

Meyer, C., & Jones, T. B. (1993). Promoting active learning: Strategies for the college classroom. Jossey-Bass.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-30