การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมวงดุริยางค์ของโรงเรียนอนุบาลบุณยรักษ์ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

ผู้แต่ง

  • วรรณวิภา มรรยาวุฒิ -

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง, กิจกรรมวงดุริยางค์

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมวงดุริยางค์ของโรงเรียนอนุบาลบุณยรักษ์ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน                2) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมวงดุริยางค์ของโรงเรียนอนุบาลบุณยรักษ์ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนอนุบาลบุณยรักษ์ ปีการศึกษา 2560 จำนวน 162 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t (t-test) การทดสอบค่า F (F-test) และการเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ตามวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการศึกษาพบว่า 1) การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมวงดุริยางค์ของโรงเรียนอนุบาลบุณยรักษ์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาแยกตามรายด้าน พบว่า ด้านการส่งเสริมประสบการณ์แก่นักเรียน ด้านการสนับสนุนการเรียนดนตรี/ดุริยางค์ และด้านการสนับสนุนการแสดงดนตรี/ดุริยางค์ อยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน 2) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมวงดุริยางค์ของโรงเรียนอนุบาลบุณยรักษ์ จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษาของผู้ปกครอง พบว่า 1) ผู้ปกครองที่มีเพศต่างกัน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมวงดุริยางค์ของโรงเรียนโดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) ผู้ปกครองที่มีอายุต่างกัน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมวงดุริยางค์ของโรงเรียนโดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 3) ผู้ปกครองที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมวงดุริยางค์ของโรงเรียนโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

 

References

กนิษฐา สนเผือก. (2556). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาการมีส่วนร่วมการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากรคณะพัฒนาการท่องเที่ยว. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

กีรศักดิ์ กุลราช. (2559). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรีสากล ของโรงเรียนสารสาสน์วิเทศมีนบุรี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา สถาบันรัชต์ภาคย์.

ขวัญใจ ฮีลีย์. (2533). สภาพและปัญหาของดนตรีศึกษาในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ขวัญชัย น้ำสมบูรณ์. (2554). การมีส่วนร่วมของประชาชนตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ. (2555). พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ.

จารึก ศุภพงศ์. (2546). การศึกษาการดำเนินการพัฒนาหลักสูตรดนตรี สำหรับนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษทางด้านดนตรี : กรณีศึกษาโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จารุพงศ์ พลเดช. (2546). การบริหารแบบมีส่วนร่วมและการให้อำนาจปฏิบัติ. วารสารพัฒนา

จินตนา สุจจานันท์. (2549). การศึกษาและการพัฒนาชุมชน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี. (2529). สังคีตนิยมว่าด้วยดนตรีไทย. คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์.มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เฉลียว บุรีภักดี และคนอื่นๆ. (2545). ชุดวิชาการวิจัยชุมชน ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง. นนทบุรี: เอส.อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.

ชาติชาย นรเศรษฐาภรณ์. (2545). ธรรมาภิบาลในความหมายของภาครัฐ เอกชน และประชาชน : กรณีโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนถ่านหิน “หินกรูด”. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฐิติมาพร เจริญวงศา. (2551). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการพัฒนาการเรียนการสอนของนักเรียนโรงเรียนวัดศรีสุดาราม สำนักงานเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ธัญพร ก้อยชูสกุล. (2554). การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากรคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ธนสาร บัลลังก์ปัทมา. (2551). บทบาทปรัชญาชนในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษา.The City Journal, 4(85), 30

ธราพงษ์ ทองกระจ่าง. (2556). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง สีสันเครื่องดนตรีสากล สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

เนตรรุ้ง อยู่เจริญ. (2553). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่มในการประกันคุณภาพการศึกษาของครู สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ประสาร พรหมณา. (2553). การบริหารแบบมีส่วนร่วม. (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 28 สิงหาคม, 2560.

จาก http://trang.nfe.go.th/alltis16/UserFiles/Pdf/wijaiman.pdf

ปราชญา กล้าผจัญ. (2545). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย

รามคำแหง.

ปองสิน วิเศษศิริ. (2550). แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น.การเสวนาทางวิชาการ

มหกรรมการจัดการศึกษาท้องถิ่น 2550. [ม.ป.ท.: ม.ป.พ.].

พงษ์พันธ์ แก้วหาวงศ์. (2550). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา อำเภอหนองสองห้อง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 3. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พระชานนท์ จักรใจ. (2555). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านถ้า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลับแม่ฟ้าหลวง.

ภูวเนตร มีประวัติ (2561). วงดุริยางค์. (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 12 มีนาคม, 2561. จาก

https://max2069.wordpress.com/;วงดุริยางค์/

เมตต์ เมตต์การุณ์จิต. (2553). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม: ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและราชการ. กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์.

ไมตรี โหมดเครือ. (2547). สภาพและปัญหาในการดำเนินการตามหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษา ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี.(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.

ยงยุทธ พนาสนธิ์. (2546). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการศึกษา.วิทยาจารย์.

, 2 ( ก.ค.-ก.ย. 2546 ), หน้า 21-27.

รุ่งรุจน์ธนัน บุณยรักษ์. (2560). เอกสารประกอบการปฐมนิเทศผู้ปกครอง ประจำปีการศึกษา 2561

โรงเรียนอนุบาลบุณยรักษ์.

โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย. (2554). การมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ศุภชัย ธรรมวงศ์. (2551). การพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลบนเว็บไซต์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแม่ฮ่องสอน.แม่ฮ่องสอน: สินชนะกาญภัย.

สนธยา สมปาง. (2545). กระบวนการสรรหาผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจไทยตามหลักธรรมาภิบาล ศึกษากรณี: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมบัติ กระจ่างยุทธ. (2542). การศึกษากิจกรรมเสริมหลักสูตรดนตรีในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สายพิณ พุทธิสาร. (2543). การศึกษาการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรดนตรีไทย ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา : กรณีศึกษาโรงเรียนที่ได้รับรางวัลการประกวดวงดนตรีไทยถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภัทรภร อุ่นทะวารี. (2556). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาของโรงเรียนเทศบาลในเขตอำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา.

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2545). รูปแบบการมีส่วนร่วมในสถานศึกษา.วารสารวิชาการ, 10(2).

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). แนวทางการกระจายอํานาจการบริหารและ

การจัดการการศึกษา. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2549). เอกสารแนวทางการดําเนินงานปฏิรูปการ

เรียนการสอนตามเจตนารมณ์กระทรวงศึกษาธิการ “2549 ปีแห่งการปฏิรูปการเรียนการสอน” แนวทางการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอน ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: พริกหวาน.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2550). การพัฒนาดัชนีชี้วัดในประเทศและต่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา (2552) . วงดุริยางค์. (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 12 มีนาคม, 2561. จาก

http://www.royin.go.th/?knowledges=วงดุริยางค์-14-กันยายน-2552.

สุมน อมรวิวัฒน์. (2545). รายงานผลการดำเนินงานโครงการนำร่องระดับชาติ เรื่อง การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ในโรงเรียนนำร่อง : รูปแบบที่คัดสรร. กรุงเทพฯ: เอส ดี เค เปเปอร์ แอนด์ ฟอร์ม.

อรทัย ก๊กผล. (2546). การมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: เลี่ยงเชียง.

อัจฉริยา บุญมาสืบ. (2558). การศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองด้านวิชาการในโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Australia. Dept of Education, Employment and Workplace Relations (DEEWR) (2008).

Family school partnerships framework: a guide for schools and families.

Cohen, J.M., & Uphoff, N.T. (1980). Rural development participation: Concept and measures

for project design implementation and evaluation, Rural development committee center for international studies. New York: Cornell University.

Rattanon. (2559). วงดุริยางค์. (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 12 มีนาคม, 2561. จาก

http://musicbandedu.blogspot.com/2016/11/2.html

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27

How to Cite

มรรยาวุฒิ ว. (2022). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมวงดุริยางค์ของโรงเรียนอนุบาลบุณยรักษ์ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 2(3), 111–122. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JMSSNRU/article/view/1018