รูปแบบการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอย่างรู้เท่าทันของผู้บริโภคไทย
คำสำคัญ:
รูปแบบการซื้อ, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร, การรู้เท่าทัน, ผู้บริโภคไทยบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอย่างรู้เท่าทันของผู้บริโภคไทย ด้วยวิธีการวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากประชากรไทยจำนวน 1,175 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ วิธีการสกัดองค์ประกอบและการหมุนแกนองค์ประกอบแบบออโธกอนอลด้วยวิธีวาริแมกซ์ ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริโภคไทยมีรูปแบบการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอย่างรู้เท่าทัน 6 รูปแบบ ได้แก่ 1) ผู้บริโภคที่กระตือรือร้น 2) ผู้บริโภคที่เน้นการประเมินข้อมูล 3) ผู้บริโภคที่เปิดรับข้อมูลทุกช่องทาง 4) ผู้บริโภคที่พิจารณาใครครวญอย่างละเอียดรอบคอบก่อนตัดสินใจ 5) ผู้บริโภคที่เน้นความสะดวกสบาย และ 6) ผู้บริโภคที่พิจารณาแค่ฉลากผลิตภัณฑ์ องค์ความรู้ที่ได้รับจากผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอย่างรู้เท่าทันของผู้บริโภคไทยมีด้วยกัน 6 รูปแบบ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างการรู้เท่าทันการสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์เสริมอาหารได้อย่างเหมาะสมต่อไป
References
ฐิติกาญจน์ พลับพลาสี และ พรรษพร เครือวงษ์. (2559). พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารเสริมของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร แม่สอด. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 12 วิจัยและนวัตกรรมกับการพัฒนาประเทศ (น.1439-1451). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ณัฐนรี ดิษฐาน. (2565). แรงจูงใจที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าประเภทผลิตภัณฑ์เสริมอาหารผ่านช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) ของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพมหานคร.
บางกอก มีเดีย แอนด์ บรอดคาสติ้ง. (2566). ตลาดอาหารเสริมโตเกือบ 8 หมื่นล้าน คนไทยยอมจ่ายเดือนละพันกว่าบาท. (28 สิงหาคม 2565). https://www.pptvhd36.com/news
บุบผา เมฆศรีทองคำ. (2554). การรู้เท้าทันสื่อ: การก้าวทันบนโลกข่าวสาร (Media literacy: Keeping pace with information age). วารสารนักยริหาร, 31(1), 117-123.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (2548, 28 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 122 ตอนพิเศษ 150 ง
พรทิพย์ เย็นจะบก. (2546). การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy). วารสารมนุษยศาสตร์, 11,111-121.
พรพิมล สัมพัทธ์พงศ์. (2562). พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของผู้บริโภคในจังหวัดนนทบุรี. วารสารมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์. 5(2). 67-79.
รดี ธนารักษ์. (2558). การรู้เท่าทันสื่อ: ประโยชน์และการนำไปใช้ กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. (รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.)
ศูนย์ข้อมูลและข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง. (2566). จับตา : คำโฆษณาเกินจริงที่ “ห้ามใช้” กับผลิตภัณฑ์อาหาร. (15 มกราคม 2566). https://www.tcijthai.com/news/2023/1/watch/12692
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2560). เกาะกระแสสินค้าสุขภาพสร้างโอกาสธุรกิจ. (มิถุนายน 2560)
หิรัญญา นาคนาคา, ประพิมพรรณ ลื่มสุวรรณ และทรงพร หาญสันติ. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภทวิตามินของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 8(2). 105-113.
Asseal, H. (2004). Consumer Behavior: A Strategic Approach. Boston: Houghton Mifflin.
Center for Media Literacy. (2011). Media literacy: A definition and more. Retrieved 11 May 2022, from http://www.medialit.org/media-lieracy-definition-and-more
Comrey, L.A. & Lee, H.B. (1992). A first course in factor analysis (2nd ed.). Hillside, NJ: Lawrence Erlbaum Associates.
Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J., Anderson, R.E., and Tatham, R.L. (2006). Multivariate data analysis. 6thed. New Jersey: Pearson Education.
Kardes, F. R., Cline, T. W. & Cronley, M. L. (2011). Consumer Behavior: Science and Practice (International Edition ed.): South-Western Cengage Learning.
Kotler, P. & Armstrong, G. (2008). Kotler and Armstrong Marketing Communication. Retrieved March 3, 2020, from https://www.ukessays.com/essays/marketing/kotler-and-armstrongs-marketing-communication-marketing-essay.php
Pallant J. (2013). SPSS survival manual: A step by step guide to data analysis using SPSS. 4th ed. Maidenhead: McGraw-Hill Publishers.
Schiffman, L. G., & Kanuk, L. L. (2010). Consumer Behavior (Global Tenth Edition ed.) United State of America: Pearson Education, Inc.
Tabachnick BG., & Fidell LS. (2007). Using multivariate statistics 5th ed. Boston (MA): Pearson Education.
Vollrath, M. D. & Villeges, S. D. (2020). Avoiding Digital Marketing Analytics Myopai: Revisiting the Customer Decision Journey as a Stratrgic Marketing Framework. Journal of Marketing Analytics (2021). Published online. Retrieved May 11, 2020, from https://link.springer.com/article/10.1057/s41270-020-00098-0#article-info
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เป็นทัศนะ ลิขสิทธิ์ และความรับผิดชอบของผู้เขียนเจ้าของผลงาน