ทักษะของนักบัญชีในยุคดิจิทัลและกระบวนการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อศักยภาพ ในการปฏิบัติงานและคุณภาพการรายงานทางการเงินของผู้ทำบัญชี ของสำนักงานบัญชีในเขตภาคเหนือตอนบน

ผู้แต่ง

  • สุพรรษา สุวรรณศรี หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม
  • พรทิวา แสงเขียว หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม

คำสำคัญ:

ทักษะของนักบัญชี, ยุคดิจิทัล, กระบวนการปฏิบัติงาน, คุณภาพการรายงานทางการเงิน, ศักยภาพในการปฏิบัติงาน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทักษะของนักบัญชีในยุคดิจิทัลและกระบวนการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อศักยภาพและคุณภาพการรายงานทางการเงินของสำนักงานบัญชีในเขตภาคเหนือตอนบน โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ทำบัญชีของสำนักงานบัญชีในเขตภาคเหนือตอนบน จำนวน 359 คน และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้สถิติพื้นฐานในการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ทักษะของนักบัญชีในยุคดิจิทัลส่งผลเชิงบวกต่อศักยภาพในการปฏิบัติงาน โดยตัวแปรอิสระทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ทักษะทางด้านธุรกิจ ทักษะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะทางด้านความรู้ความชำนาญทางด้านวิชาชีพ ทักษะทาง ด้านอารมณ์การสื่อสาร ทักษะทางด้านความคิดสร้างสรรค์ ทักษะทางด้านการทำงานร่วมกันเป็นทีม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และกระบวนการปฏิบัติงานของสำนักงานบัญชีส่งผลเชิงบวกต่อศักยภาพในการปฏิบัติงาน โดยตัวแปรอิสระทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ การจัดทำบัญชีให้ถูกต้องและเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด การตรวจทานความถูกต้องในการปฏิบัติงานทางบัญชี การชี้แจงการปฏิบัติงานทางบัญชีแก่บุคลากร อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2566). รายงานสถานการณ์ธุรกิจประจำปี 2566. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์.

เกษราภรณ์ งามสุวรรณฉาย, ชุติระ ระบอบ และพิษณุ วรรณกูล. (2564). การพัฒนาทักษะการสื่อสารของพนักงานบริษัทผู้ให้บริการโลจิสติกส์ขนส่งสินค้าข้ามแดน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 18(2), 14-26.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น

ปาริชาติ มณีมัย. (2559). คุณภาพและปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานบัญชีขนาดกลางและขนาดย่อมของไทย. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 14(1), 117- 128.

ผกาวดี นิลสุวรรณ, วราพร รุ่งเรือง, วนิดา แพงศรี, ประไพศรี สุภาจันทร์ และศศิกร เครือผือ. (2563). คุณสมบัติของนักบัญชีที่พึงประสงค์ที่ส่งผลต่อคุณภาพของการจัดทํางบการเงินของสํานักงานบัญชีในเขตอําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี. รายงานวิจัยหลักสูตรบัญชีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

สภาวิชาชีพบัญชี. (2563, 18 พฤษภาคม). บทบาทของนักบัญชีในยุคดิจิทัล: การเป็นคู่คิดธุรกิจในอนาคต. สภาวิชาชีพบัญชี. สืบค้น 1 เมษายน 2566 จาก https://www.tfac.or.th/Article/Detail/126283.

สุวิมล ติรกานันท์. (2562). การวิเคราะห์ตัวแปรพหุในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิมล ติรกานันท์. (2562). การวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Anderson, J. (2018). Effective time management in accounting firms. Journal of Management Accounting, 32(4), 45-67.

Anderson, S., & Lanen, W. (2017). Understanding cost management systems: What drives organizational design. Journal of Management Accounting Research, 19(1), 89-118.

Becker, R. (2019). Accounting communication in modern organizations. Accounting and Finance Journal, 12(3), 99-111.

Burns, J., & Baldvinsdottir, G. (2005). An institutional perspective of accountants' new roles – the interplay of contradictions and praxis. European Accounting Review, 14(4), 725-757.

Byrnes, P. (2020). Digital skills for accountants: Embracing the new era. Accounting Today, 18(2), 23-35.

Chen, Y., Tang, G., & Liang, J. (2021). The evolving role of accountants in the digital age: A practice theory perspective. Accounting, Auditing & Accountability Journal, 34(3), 583-609.

COSO. (2017). Internal control framework. Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission.

FASB. (2020). The importance of financial reporting quality. Financial Accounting Standards Board.

IFAC. (2020). Global accounting standards and compliance. International Federation of Accountants.

Jones, K., & Smith, R. (2018). Professional expertise in accounting: Skills and knowledge requirements. Accounting Review, 29(3), 55-7.

Miller, P. (2020). Quality in financial reporting. Journal of Business Finance, 38(5), 67-8.

Northouse, P. G. (2018). Leadership: Theory and practice (8th ed). Washington DC: Sage Publications.

Porter, M. (2019). Cost management strategies for accounting firms. Harvard Business Review, 24(3), 88-102.

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2(2), 49-6.

Schwab, K. (2016). The Fourth Industrial Revolution. World Economic Forum.

Sirois, L., & Weil, D. (2017). Accounting communication and emotional intelligence. Accounting Horizons, 31(2), 101-115.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3rd ed). New York: Harper & Row.

Warren, C., & Reeve, J. (2019). Accounting for business decisions. Journal of Financial Accounting, 36(1), 21-33.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-22

How to Cite

สุวรรณศรี ส., & แสงเขียว พ. (2024). ทักษะของนักบัญชีในยุคดิจิทัลและกระบวนการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อศักยภาพ ในการปฏิบัติงานและคุณภาพการรายงานทางการเงินของผู้ทำบัญชี ของสำนักงานบัญชีในเขตภาคเหนือตอนบน. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 4(4), 1526–1540. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JMSSNRU/article/view/3619