LEADERSHIP ACCORDING TO GOOD GOVERNANCE PRINCIPLES OF ADMINISTRATORS OF LARGE EDUCATIONAL UNDER THE JURISDICTION OF NONGBUGLAMPHU PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1
Keywords:
leadership, good governance, administratorAbstract
The purpose of this research was to investigate the level and approaches to develop leadership in accordance with the principles of good governance for school administrators. The informant was 74 teachers the IOC of questionnaire and interview was between .67 and 1.00. The reliability of collected data using the Google form program received a response of 100%. Descriptive analysis (percentage, mean and standard deviation and content analysis were employed. The findings revealed that: 1) The level of leadership accordance with school administrators’ good governance principles. Overall was at a high level. There was less distribution. The principle of equality has the highest average, followed by the rule of law and the decentralization principle. Morality and ethics were the two aspects with the lowest average value.2) Guidelines for developing leadership according to the of good governance for principles school administrators in each area should be developed quickly. Stakeholder satisfaction surveys should be conducted to formulate new strategic plans and improve work processes. There should be a classification of clients and strategies. The organization should demonstrate more transparency or provide technology for using within the organization. A all service should provide equally to recipients recipients to the equal. Increased participation in work should be encouraged to have better friendship outside speakers should be invited to educate students.
References
กานต์ โง่นทอง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสงเปลือย วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ. (สัมภาษณ์ 12 พฤษภาคม 2566).
จุฑากาญจน์ เก่งกสิกิจ. (2564). การใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาในสหวิทยาเขตธรรมจักร สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิปลากร.
ชัยณรงค์ ไชยโย ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านโคกใหญ่ วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ. (สัมภาษณ์ 12 พฤษภาคม 2566).
ชรินทร์ มั่งคั่ง. (2559). ภาวะผู้นำคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานการเรียนรู้สังคมศึกษา. เชียงใหม่: โรงพิมพ์ไดมอนด์ กราฟิก กรุ๊ป.
ถวิลวดี บุรีกุล. (2561). หลักธรรมาภิบาลจากแนวคิดสู่การปฏิบัติในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ทิวากร แก้วมณี. (2559). ธรรมาภิบาล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สยามปริทัศน์.
ธงชัย คล้ายแสง. หลักธรรมาภิบาลกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่. วารสารวิจัยวิชาการ, 2,(2), 187.
บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สุวีริยสาส์น.
ปาลิดา ธนะกุลภาคิน. (2563). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 ตามการรับรู้ของครูผู้สอน.สิกขาวารสารศึกษาศาสตร์. 7(2), 139.
เปรมมิกา อ่อนธานี. (2559). แนวทางการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
พระนัฐกิจ ปุญญธารี. (2564). ภาวะผู้นำตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา จังหวัดขอนแก่น, วารสารพุทธศึกษาและวิจัย, 7(3), 105-116.
วิไลรัตน์ ฝ่ายดี. (2559). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนขนาดกลางใน อำเภอตาพระยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบังลำภู เขต 1. (2565). แผนปฎิบัติการประจำปี 2565. หนองบัวลำภูกลุ่มนโยบายและแผนฯ. สืบค้นวันที่ 25 มิถุนายน 2565.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2555). หลักธรรมาภิบาลของการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี.
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
สุเมธ แสงนิ่มนวล. (2552). ภาวะผู้นำกับธรรมาภิบาลในการบริหารงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ:
ส.เจริญการพิมพ์.
อภิญญา นนทโคตร. (2559). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2.วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร, 4(16), 206.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 JOURNAL OF MANAGEMENT SCIENCE SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
An article published in the Journal of Management Science. Sakon Nakhon Rajabhat University is the opinion, copyright and responsibility of the author of the work.