มุมมอง หลักคิด และแนวทางเกี่ยวกับการขอตำแหน่งทางวิชาการ

ผู้แต่ง

  • เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์ ศาสตราจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

DOI:

https://doi.org/10.14456/mfulj.2024.8

คำสำคัญ:

การขอตำแหน่งทางวิชาการ, ปัจจัยภายใน, ปัจจัยภายนอก

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของบทความนี้ต้องการศึกษา 2 ปัจจัยที่มีผลต่อการขอตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ ได้แก่ ปัจจัยภายใน เช่น ทัศนคติ แรงจูงใจ และการพัฒนาตนเองของอาจารย์ และปัจจัยภายนอก เช่น นโยบาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ กระบวนการ ของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวกับการขอตำแหน่งทางวิชาการ ผู้เขียนพบว่า ปัจจัยภายในเป็นอุปสรรคในการขอตำแหน่งทางวิชาการมากกว่าปัจจัยภายนอก เพราะขาดกลไกที่ส่งเสริมปัจจัยภายใน ส่วนปัจจัยภายนอกเป็นปัจจัยที่สถิต จึงเป็นอุปสรรคน้อยกว่า ดังนั้น เพื่อบรรลุเป้าหมายในด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านงานวิจัยทางวิชาการและการสร้างนวัตกรรม มหาวิทยาลัยจะต้องใช้กลไกที่เป็นการส่งเสริมทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกไปกระตุ้นให้อาจารย์ขอตำแหน่งทางวิชาการ

Downloads

Download data is not yet available.

References

ฐิตาภา ทองไชย, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (กรุงเทพมหานคร, 2562).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

22.01.2024

How to Cite

เจริญธนาวัฒน์ เกรียงไกร. 2024. “มุมมอง หลักคิด และแนวทางเกี่ยวกับการขอตำแหน่งทางวิชาการ”. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 7 (1):314-32. https://doi.org/10.14456/mfulj.2024.8 .