หลักประชาธิปไตยกับวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
DOI:
https://doi.org/10.14456/mfulj.2023.1คำสำคัญ:
วุฒิสภา, หลักประชาธิปไตย, ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา, ความชอบธรรมทางประชาธิปไตยของวุฒิสภาไทยบทคัดย่อ
วุฒิสภาเป็นองค์กรระดับสูงแห่งรัฐฝ่ายนิติบัญญัติซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นมาตามรัฐธรรมนูญในรัฐเสรีประชาธิปไตยอยู่จำนวนไม่น้อย ภายใต้ขอบเขตแห่งหลักการที่สำคัญแห่งระบอบการปกครองของรัฐเสรีประชาธิปไตย รัฐดังกล่าวล้วนมุ่งหวังให้มีการประกันหลักประชาธิปไตยให้เป็นคุณค่าที่อยู่ในบรรทัดฐานแห่งกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะกรณีของการจัดตั้งองค์กรระดับสูงตามรัฐธรรมนูญ องค์กรดังกล่าวก็ล้วนแล้วแต่ต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตของหลักประชาธิปไตย โดยจะต้องมีที่มาขององค์กรที่มีความเชื่อมโยงกับประชาชนผู้ทรงอำนาจอธิปไตย ทั้งนี้ วุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ก็เป็นองค์กรระดับสูงแห่งรัฐฝ่ายนิติบัญญัติตามรัฐธรรมนูญองค์กรหนึ่งที่จะต้องถูกเรียกร้องให้มีโครงสร้างการจัดองค์กรของตนให้มีความยึดโยงกับประชาชนเช่นกัน อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาจากที่มาของสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 แล้ว กลับพบว่าที่มาดังกล่าวกลับไม่อาจสะท้อนให้เห็นถึงความสอดคล้องของการจัดองค์กรระดับสูงแห่งรัฐที่มีความสอดคล้องกับหลักประชาธิปไตยเท่าที่ควร เนื่องจากไม่ได้มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนผู้ทรงอำนาจอธิปไตยผ่านกลไกการเลือกตั้งอันเป็นกลไกสากลที่ส่งผ่านความชอบธรรมทางประชาธิปไตยผ่านหลักการประชาธิปไตยแบบผู้แทนตามครรลองแห่งระบอบการปกครองของรัฐเสรีประชาธิปไตย และหากพิจารณาควบคู่ไปกับที่มาของสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญของรัฐต่างประเทศอันสะท้อนให้เห็นถึงการดำรงอยู่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญที่มีความชอบธรรมทางประชาธิปไตยในรัฐนั้น ๆ เราก็จะพบว่าที่มาของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มีความแตกต่างจากที่มาของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญในรัฐต่างประเทศซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความไม่สอดคล้องในการจัดองค์กรระดับสูงต่อหลักประชาธิปไตยในการจัดองค์กรแห่งรัฐเนื่องมาจากความบกพร่องในการกำหนดรูปแบบที่มาของสมาชิกวุฒิสภาที่ไม่เปิดโอกาสให้ประชาชนผู้ทรงอำนาจอธิปไตยมีส่วนร่วมในการคัดเลือกอย่างทั่วถึงและเป็นรูปธรรมDownloads
References
เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์, หลักพื้นฐานกฎหมายมหาชน, พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2558).
เจมส์ กอร์ดอน ฟินเลย์สัน, ฮาเบอร์มาส: มนุษย์กับพื้นที่สาธารณะ, แปลโดย วรารัก เฉลิมพันธุ์ศักดิ์, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เงินมีมา, 2559).
โครงการอินเทอร์เน็ตกฎหมายเพื่อประชาชน, ตารางผู้ถูกดำเนินคดีที่เกี่ยวข้องกับประชามติ 2559 [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://freedom.ilaw.or.th/blog/referendum_charge
ไพโรจน์ ชัยนาม, สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญของต่างประเทศกับระบอบการปกครองของไทย, (กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2515).
จิรากิตติ์ แสงลี, ลักษณะพื้นฐานของการปกครองระบบรัฐสภา: ศึกษาเปรียบเทียบระบบรัฐสภาในอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น และไทย, (วิทยานิพนธ์ปริญญาโท หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563).
ธราวุฒิ สิริผดุงชัย, ระบบสภาเดี่ยว : ทางเลือกของระบบรัฐสภาไทย, (วิทยานิพนธ์ปริญญาโท หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554).
นอร์แบร์โต บ๊อบบิโอ, เสรีนิยมกับประชาธิปไตย, แปลโดย เกษียร เตชะพีระ, (กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2558).
บรรเจิด สิงคะเนติ, หลักกฎหมายมหาชน หลักนิติธรรม/นิติรัฐ ในฐานะ “เกณฑ์” จำกัดอำนาจรัฐ, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2561).
บรรเจิด สิงคะเนติ, หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์, พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2552).
ปณิทัศน์ ปทุมวัฒน์, ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “สภาขุนนามอังกฤษ”, วารสารจุลนิติ, ปี 12 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม 2558).
ปณิทัศน์ ปทุมวัฒน์, วุฒิสภาของสหรัฐอเมริกา, วารสารจุลนิติ, ปี 12 ฉบับที่ 6 (พฤศจิกายน 2558).
ประจักษ์ ก้องกีรติ, ประชาธิปไตย : หลากความหมาย หลายรูปแบบ, (กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสัญญาธรรมศักดิ์ เพื่อประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562).
ปรีดี เกษมทรัพย์, นิติปรัชญา, พิมพ์ครั้งที่ 8 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550).
มานิตย์ จุมปา, โครงการศึกษาวิเคราะห์ เรื่อง ที่มาและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาที่เหมาะสมกับประเทศไทย, คณะกรรมการวิสามัญวิชาการ ตรวจร่างรัฐธรรมนูญและร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ สภาร่างรัฐธรรมนูญ (กรุงเทพมหานคร: 2550).
รชณัฐ มะโนแสน, ที่มาและปัญหาความชอบธรรมทางประชาธิปไตยของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไทย, (วิทยานิพนธ์ปริญญาโท หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565).
วรเจตน์ ภาคีรัตน์, คำสอนว่าด้วยรัฐและหลักกฎหมายมหาชน, พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อ่านกฎหมาย, 2564).
วรเจตน์ ภาคีรัตน์, ประวัติศาสตร์ความคิดนิติปรัชญา, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อ่านกฎหมาย, 2561).
วัชรพล โรจนวรวัฒน์, รูปแบบวิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาที่เหมาะสมกับอำนาจหน้าที่วุฒิสภาแห่งราชอาณาจักรไทย, (วิทยานิพนธ์ปริญญาโท หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2560).
วิษณุ เครืองาม, กฎหมายรัฐธรรมนูญ, พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์นิติบรรณการ, 2530).
ศักดา ศรีทิพย์, บทบาท อำนาจหน้าที่ และที่มาของวุฒิสภาที่เหมาะสมกับประเทศไทย, (วิทยานิพนธ์ปริญญาโท หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558).
ศุภชัย ศุภผล, ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น, พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2561).
สมยศ เชื้อไทย, หลักนิติรัฐ ใน นิติรัฐ นิติธรรม, บรรณาธิการโดย เอกบุญ วงศ์สวัสดิ์กุล, (กรุงเทพมหานคร: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553).
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, ระบบรัฐสภาแคนาดา, (กรุงเทพมหานคร: สำนักภาษาต่างประเทศ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2555).
สำนักภาษาต่างประเทศ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, ระบบรัฐสภาสาธารณรัฐอินโดนีเซีย, (กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2563).
อเล็กซิส เดอ ท็อกเกอวิลล์, ประชาธิปไตยในอเมริกา, แปลโดย วิภาวรรณ ตุวยานนท์, (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, 2522).
Adrian Vermeule, Second Opinions and Institutional Design, Virginia Law Review, Volume 97 Issue 6 (October 2011).
Arthur B. Gunlicks, The Länder and German federalism, (Manchester: Manchester University Press, 2003).
Duncan Black, The Theory of Committees and Elections, (Cambridge: Cambridge University Press, 1958).
Eerik Lagerspetz, Kelsen on Democracy and Majority Decision, Archives for Philosophy of Law and Social Philosophy, Volume 103 Issue 2 (January 2017).
George Williams, Sean Brennan and Andrew Lynch, Blackshield and Williams Australian Constitutional Law and Theory: commentary and materials, (Alexandria: Federation Press, 2014).
John Uhr, The Australian Model Senate, Canadian Parliamentary Review, Volume 32 Issue 1 (Spring 2009).
Rob Fahey, Japan Explained: The House of Councilors [Online], Source: https://www.tokyoreview.net/2019/07/japan-explained-house-of-councilors/
Robert Lamb, The Liberal Cosmopolitanism of Thomas Paine, The Journal of Politics, Volume 76 Issue 3 (July 2014).
Senado de España, Composition of the Senate [Online], Source: https://www.senado.es/web/conocersenado/temasclave/composicionsenadoelecciones/index.html?lang=en
Senado de España, Senate functions [Online], Source: https://www.senado.es/web/conocersenado/temasclave/funcionessenado/index.html
Senát PČR, Information about the Senate of the Parliament of the Czech Republic [Online], Source: https://www.senat.cz/informace/pro_verejnost/infocentrum/infocentrum_informace_o_senatu-eng.php
Sénat, The Belgian Senate [Online], Source: http://www.senat.fr/senatsdumonde/english/belgique.html
Senato della Repubblica, Election of the Senate [Online], Source: https://senato.it/en/parliamentary-business/election-senate/composition
Stefan Höfler, Markus Nussbaumer and Felix Uhlmann, Legislation in Switzerland [Online], Source: https://www.ius.uzh.ch/dam/jcr:12d94b0f-279d-4d68-a1ef-ef5260c2cffa/Legislation_in_Europe_Uhlmann_et.al.pdf
The UK Parliament, How members are appointed [Online], Source: https://www.parliament.uk/business/lords/whos-in-the-house-of-lords/members-and-their-roles/how-members-are-appointed/
Thomas C. Walker, Two Faces of Liberalism: Kant, Paine, International Studies Quarterly, Volume 52 Issue 3 (September 2008).
Sénat, Switzerland: Council of States [Online], Source: http://www.senat.fr/senatsdumonde/english/switzerlandenglish.html?fbclid=IwAR3YoqYZ7PSZg-c0ZwTaGGnrhugDsDDmzzCSTsmMiRVrJyzn-FFPAPIq9SE
Roberta Damiani, Reforming the Italian Senate [Online], Source: https://constitution-unit.com/2015/11/17/reforming-the-italian-senate/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.