ปัญหาความลักลั่นในการปรับใช้ “การไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบความผิด” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรคสาม และ “การสำคัญผิดในข้อเท็จจริง” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 62
DOI:
https://doi.org/10.14456/mfulj.2022.11คำสำคัญ:
การไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบความผิด, การสำคัญผิดในข้อเท็จจริงบทคัดย่อ
การวินิจฉัยความรับผิดทางอาญาของบุคคลกรณีผู้กระทำมีการสำคัญผิดในข้อเท็จจริงตามกฎหมายไทยนั้น มีปัญหาความสับสนลักลั่น ระหว่างการปรับใช้ “การไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบความผิด” ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 59 วรรคสาม และ “การสำคัญผิดในข้อเท็จจริง” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 62 กล่าวคือ แม้ข้อเท็จจริงในคดีที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะอย่างเดียวกัน แต่กลับมีการปรับใช้บทกฎหมายที่ต่างกัน ด้วยเหตุนี้จึงเกิดปัญหาของเสถียรภาพในการให้เหตุผลทางกฎหมายอย่างมีนัยสำคัญ บทความนี้จึงได้ทำการศึกษาวิเคราะห์ความเหมือน และความแตกต่างของบทกฎหมายทั้งสองมาตรา เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น
Downloads
References
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์, คำอธิบายกฎหมายอาญาภาค 1, พิมพ์ครั้งที่ 10 (กรุงเทพมหานคร: พลสยาม พริ้นติ้ง, 2551).
คณิต ณ นคร, กฎหมายอาญาภาคทั่วไป, พิมพ์ครั้งที่ 6 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2560).
จิตติ ติงศภัทิย์, คำอธิบายประมวลกฎหมายอาญา ภาค 1, พิมพ์ครั้งที่ 10 (กรุงเทพมหานคร: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2546).
ณรงค์ ใจหาญ, ความสำคัญผิดในเหตุที่ผู้กระทำมีอำนาจกระทำได้, (วิทยานิพนธ์ปริญญาโท หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2526).
ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ, ปัญหาในทางทฤษฎีเกี่ยวกับการสำคัญผิดในกฎหมายอาญาไทย: กรณีการสำคัญผิดในเหตุที่บุคคลมีอำนาจกระทำ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ (กรุงเทพมหานคร, 2564).
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ, กฎหมายอาญา : หลักและปัญหา, พิมพ์ครั้งที่ 6 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์นิติธรรม, 2547).
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ, คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาคทั่วไป, พิมพ์ครั้งที่ 19 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2560).
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ, ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับอ้างอิง, พิมพ์ครั้งที่ 40 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2561).
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ, สังคมกับกฎหมาย, พิมพ์ครั้งที่ 5 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2559).
นรเศรษฐ์ สว่างแจ้ง, บทบาทศาลในการใช้ดุลพินิจในการกำหนดโทษ ใน นิติธรรมประจักษ์ สุรศักดิ์ 60 ปี, บรรณาธิการโดย อานนท์ มาเม้า, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เดือนตุลา, 2561).
ปกป้อง ศรีสนิท, กฎหมายอาญาชั้นสูง, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2559).
สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล, โครงสร้างความรับผิดทางอาญาของไทย: พิจารณาจากประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 62 ใน 65 ปี เกียรติขจร: รวมบทความวิชาการ เนื่องในโอกาส 65 ปี อาจารย์เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์, บรรณาธิการโดย ปกป้อง ศรีสนิท, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เดือนตุลา, 2557).
แสวง บุญเฉลิมวิภาส, หลักกฎหมายอาญา, พิมพ์ครั้งที่ 5 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2551).
หยุด แสงอุทัย, กฎหมายอาญา ภาค 1, พิมพ์ครั้งที่ 21 (กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556).
หยุด แสงอุทัย, คำอธิบายกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127, พิมพ์ครั้งที่ 7 (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2561).
อุทัย อาทิเวช, ทฤษฎีอาชญาวิทยากับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ วี.เจ.พริ้นติ้ง, 2557).
Jerome Hall, General Principles of Criminal Law, 2nd Edition (Indianapolis, In d.: Bobbs-Merrill., 2005).
Michael S. Moore, Causation and the Excuses, California Law Review, Volume 73 Issue 4 (1985).
Stephen J. Morse, Neuroscience, Free Will, and Criminal Responsibility [Online], Source: https://scholarship.law.upenn.edu/faculty_scholarship/1604/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.