ผลกระทบของกลยุทธ์การจัดการเพื่อสิ่งแวดล้อมที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจยานยนต์

Main Article Content

รัฐพงษ์ อ้วนแก้ว
นวลละออง อรรถรังสรรค์
มณิสรา สนั่นเอื้อเม็งไธสง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของกลยุทธ์การจัดการเพื่อสิ่งแวดล้อมที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจยานยนต์ ใช้เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถาม โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารธุรกิจยานยนต์ จำนวน 142 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ การวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การจัดการเพื่อสิ่งแวดล้อม ด้านนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สีเขียว มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับผลการดำเนินงาน ดังนั้น ผู้บริหารธุรกิจยานยนต์ ควรให้ความสำคัญกับกลยุทธ์การจัดการเพื่อสิ่งแวดล้อม โดยการกำหนดแนวทางหรือกระบวนการด้านการจัดการที่มุ่งเน้นปรับปรุงผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และรูปแบบการจัดการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีความรับผิดชอบต่อสังคม มุ่งเน้นการออกแบบการผลิตสินค้าที่ไม่เป็นอันตรายทั้งผู้บริโภคและสภาพแวดล้อม ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดและมีประสิทธิภาพเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันในธุรกิจ

Article Details

How to Cite
อ้วนแก้ว ร., อรรถรังสรรค์ น. ., & สนั่นเอื้อเม็งไธสง ม. (2022). ผลกระทบของกลยุทธ์การจัดการเพื่อสิ่งแวดล้อมที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจยานยนต์. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 4(3), 43–54. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/MSJournal/article/view/2841
บท
บทความวิจัย

References

กิรณา คำสิงห์นอก. (2557). เปิดแนวคิดสู่ยุคเศรษฐกิจสีเขียว. วารสารธุรกิจสีเขียว, 8(2), 12–14.

เกียรติสุดา ศรีสุข. (2552). ระเบียบวิธีวิจัย. เชียงใหม่: ครองช่าง.

โกศล ดีศีลธรรม. (2558). นวัตกรรมสีเขียวลดปัญหาโลกร้อน. วารสาร Technology Management, 41, 37–40.

จรัญญา วงษ์ดอนขมิ้น, ณัฎฐภัทร์ สุนทรศิลสังวร, ณิชชา จันทะมณี และ พิทักษ์ ศิริวงศ์. (2557). การให้ความหมาย รูปแบบและกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจสีเขียวของบริษัทคีนน์ จำกัด. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 7(1), 191–201.

ชัญญาภัค หล้าแหล่ง. (2558). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ของกลยุทธ์นวัตกรรมสีเขียว: หลักฐานเชิงประจักษ์ของธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิตของไทยที่ได้รับรองมาตรฐานสิ่งแวดล้อม ISO 14001. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ คณะ

ศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธวัชชัย รัชสมบัติ. (2560). ผลกระทบของการมุ่งเน้นการจัดการทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย.ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ์ คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น.

ศรัญยา แสงลิ้มสุวรรณ เสรี ชัดแช้ม และพูลพงศ์ สุขสว่าง. (2560). การพัฒนาเกณฑ์ประเมินการจัดการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสีเขียว. วารสารวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา, 15(1), 20–35.

สถาบันยานยนต์. (2563). MOTOR VEHICLE RECORD. สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2563. จาก https://www.thaiauto.or.th/2012/th/

อัญชลีพร ใสสุทธิ์ ณัฐนันท์ ฐิติยาปราโมทย์ และสุขเกษม ลางคุลเสน. (2563). นวัตกรรมทาง

การบัญชีสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการอยู่รอดขององค์กร: กรณีศึกษาของธุรกิจที่ได้รับรอง ISO 14001 ในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 2(3), 29–41.

Aaker, D. A., Kumar, V., & Day, G. S. (2001). Marketing Reserch. New York: John Wiley & Sons Inc.

Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary Decision Making (4th ). USA: John Wiley & Sons Inc.

Kaplan, R. S., & Norton, D. P. (1996). Translating strategy into action The Balanced Scorecard. Boston: Harvard Business School.

Tang, M., Walsh, G., Lerner, D., Fitza, M. A., & Li, Q. (2018). Green Innovation, Managerial Concern and Firm Performance: An Empirical Study. Business Strategy and the Environment, 27(1), 39–51.

Xie, X., Huo, J., & Zou, H. (2019). Green process innovation, green product innovation, and corporate financial performance: A content analysis method. Journal of Business Research, 101, 697–706.