วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ISSN: 2228-8031 E-ISSN: 2697-5300

กำหนดการเผยแพร่ 6 ฉบับต่อปี

  • ฉบับที่ 1 มกราคม – กุมภาพันธ์ (กำหนดออกเดือนกุมภาพันธ์)
  • ฉบับที่ 2 มีนาคม – เมษายน (กำหนดออกเดือนเมษายน)
  • ฉบับที่ 3 พฤษภาคม – มิถุนายน (กำหนดออกเดือนมิถุนายน)
  • ฉบับที่ 4 กรกฎาคม – สิงหาคม (กำหนดออกเดือนสิงหาคม)
  • ฉบับที่ 5 กันยายน – ตุลาคม (กำหนดออกเดือนตุลาคม)
  • ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน – ธันวาคม (กำหนดออกเดือนธันวาคม)

นโยบายและขอบเขตการตีพิมพ์ : วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่บทความวิจัยและบทความวิชาการในกลุ่มสาขาต่าง ๆ ดังนี้

  • บริหารธุรกิจ
  • การจัดการทั่วไป
  • นิเทศศาสตร์
  • การบัญชี
  • เศรษฐศาสตร์
  • การจัดการการโรงแรมและการท่องเที่ยว
  • สาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ซึ่งเป็นผลงานจากบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีและผู้เขียนจากหน่วยงานภายนอก เพื่อเป็นการเผยแพร่และส่งเสริมการนำผลการวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ รวมทั้งเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาการระหว่างคณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และบุคคลทั่วไป โดยบทความที่ได้รับการตีพิมพ์นั้น ล้วนผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะศาสตร์

Vol. 5 No. 2 (2023): MARCH – APRIL (2023)

Published: 05/11/2023

THE STUDY OF PROBLEMS AND NEEDS FOR MAK MAO BUSINESS DEVELOPMENT IN SAKON NAKHON PROVINCE

Kannika Sombun, Jitti Kittilertdpaisan, Chanin Wasrinon, Pissadarn Saenchart

31-42

View All Issues

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่บทความวิจัยและบทความวิชาการในกลุ่มสาขาต่าง ๆ ดังนี้

  • บริหารธุรกิจ
  • การจัดการทั่วไป
  • นิเทศศาสตร์
  • การบัญชี
  • เศรษฐศาสตร์
  • การจัดการการโรงแรมและการท่องเที่ยว
  • สาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ซึ่งเป็นผลงานจากบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีและผู้เขียนจากหน่วยงานภายนอก เพื่อเป็นการเผยแพร่และส่งเสริมการนำผลการวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ รวมทั้งเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาการระหว่างคณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และบุคคลทั่วไป โดยบทความที่ได้รับการตีพิมพ์นั้น ล้วนผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะศาสตร์บทความละ 3 ท่าน กำหนดรูปแบบการประเมินโดยผู้ประเมินไม่ทราบชื่อผู้เขียนบทความ และผู้เขียนบทความไม่ทราบชื่อผู้ประเมิน (Double-blind peer review)