แนวทางสร้างกลไกธรรมาภิบาลหุ้นกู้มีหลักประกันในประเทศไทย

Main Article Content

ศิววงศ์ ทองส่งโสม
ภัทรกิตติ์ เนตินิยม

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์การนำเสนอโดยวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กรณีการออกหุ้นกู้มีหลักประกัน ในตลาดการเงินไทยที่จะมุ่งส่งเสริมกลไกธรรมาภิบาลของหุ้นกู้มีหลักประกันภายใต้กฎเกณฑ์ที่มีการใช้บังคับ กรณีการกำหนดขนาดรายการที่ต้องดำเนินการหากจะจำหน่ายทรัพย์สิน หรือการเปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่งในกรณีขนาดรายการมีนัยสำคัญต้องมีรายงานที่ปรึกษาการเงินอิสระ และต้องขออนุมัติจากผู้ถือหุ้น ผลการศึกษาพบว่าการพัฒนาตลาดทุนให้เติบโตอย่างยั่งยืนเพื่อประชาชนทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากตลาดทุนได้ ดังนั้นการดำเนินงานของ ก.ล.ต. จึงจะต้องมุ่งเน้นสร้างการคุ้มครองผู้ลงทุนทุกประเภทอย่างเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะในส่วนของผู้ลงทุนรายย่อย หากมีการกำหนดปรับใช้หลักเกณฑ์การได้มา หรือจําหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ และหลักเกณฑ์รายการที่เกี่ยวโยงกัน สำหรับการนำสินทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนมาเป็นหลักประกันหุ้นกู้ จะเป็นแนวทางหนึ่งในการสนับสนุนการสร้างกลไกธรรมาภิบาลหุ้นกู้มีหลักประกันในประเทศไทยให้มีความเป็นธรรมมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้กรณีศึกษาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ช่วยสนับสนุนข้อเสนอ

Article Details

How to Cite
ทองส่งโสม ศ., & เนตินิยม ภ. (2025). แนวทางสร้างกลไกธรรมาภิบาลหุ้นกู้มีหลักประกันในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 7(3), 25–39. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/MSJournal/article/view/3132
บท
บทความวิชาการ

References

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2567). การเปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกัน. สืบค้น 10 มกราคม 2567, จาก https://www.set.or.th/th/listing/listed-company/simplified-regulations/disclosure/connected-transaction

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2566). สถิติตลาดทุนไทย. สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.set.or.th/th/market/statistics/market-statistics/main

ประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 39/2564. (2565). เรื่อง การกำหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่. ราชกิจจานุเบกษา, 139(ตอนพิเศษ 48 ง), 40.

สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย. (2566). สรุปภาวะตลาดตราสารหนี้ ไตรมาส 3 ปี 2566. สืบค้น 5 ธันวาคม 2566, จาก https://www.thaibma.or.th/doc/press/y2023/Doc102023.pdf

สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย. (2567). สรุปภาวะตลาดตราสารหนี้ไทยปี 2566. สืบค้น 10 มกราคม 2567, จาก https://www.thaibma.or.th/doc/press/y2024/Doc012024.pdf

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2567). ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้. สืบค้น 10 มกราคม 2567, จาก https://www.sec.or.th/TH/pages/lawandregulations/trusteedebt.aspx#handbook

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2567). รายการได้มาหรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์. สืบค้น 10 มกราคม 2567, จาก https://www.sec.or.th/TH/Pages/LawandRegulations/AssetAcquisitionorDisposalTransaction.aspx

Jensen, M. C., & Meckling, W. H. (1976). Theory of the firm: Managerial behavior, agency costs and ownership structure. Journal of Financial Economics, 3(4), 305–360.

SET Investnow. (2567). ตราสารหนี้ แบบไหนที่น่าลงทุน. สืบค้น 10 มกราคม 2567, จาก https://www.setinvestnow.com/th/bond/how-to-pick-bond