ผลกระทบของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ร่วมสมัยที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานทางการตลาด ของธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Main Article Content

ชานัตตา วงศ์ศิริ
อารีรัตน์ ปานศุภวัชร
ธีรา เอราวัณ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์และผลกระทบของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ร่วมสมัยที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานทางการตลาดของธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถาม โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ผู้บริหารธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 127 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมู] ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ด้านการสร้างสัมพันธภาพกับลูกค้า และด้านการติดตามลูกค้าด้วยเทคโนโลยี มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับผลการดำเนินงานทางการตลาด ดังนั้น ผู้บริหารควรให้ความสำคัญการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ร่วมสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านการสร้างสัมพันธภาพกับลูกค้า และด้านการติดตามลูกค้าด้วยเทคโนโลยี เพื่อให้ธุรกิจสามารถสร้างและพัฒนาความสัมพันธ์กับลูกค้าได้อย่างต่อเนื่องแม้ยุคสมัยจะเปลี่ยนไป เพราะความสัมพันธ์เป็นส่วนช่วยในการพัฒนาต่อยอดความต้องการของธุรกิจกับลูกค้า เพราะหากลูกค้าเปิดใจยอมรับในคุณภาพของสินค้าและบริการ ธุรกิจจะได้ลูกค้าเก่าที่มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง

Article Details

How to Cite
วงศ์ศิริ ช., ปานศุภวัชร อ., & เอราวัณ ธ. (2022). ผลกระทบของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ร่วมสมัยที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานทางการตลาด ของธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 4(1), 89–100. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/MSJournal/article/view/2883
บท
บทความวิจัย

References

กรมการขนส่งทางบก. (2563). รถใหม่(ป้ายแดง) ที่จดทะเบียนใหม่ แยกตามยี่ห้อรถ. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2563, จาก https://web.dlt.go.th/statistics/#.

กรุงเทพธุรกิจ. (2563). ประเมินเศรษฐกิจ หลัง COVID-19 ระบาดระดับโลก. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2563, จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/870698.

กฤตนพัฒน์ สิงห์สีโว. (2555). ผลกระทบของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่มีต่อความจงรักภักดีของลูกค้าของบริษัทนำเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการท่องเที่ยวและการโรงแรม คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ฉัตรยาพร เสมอใจ. (2549). การบริหารการตลาด. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ชลลณา กุลสุวรรณ. (2556). การบริหารลูกค้าสัมพันธ์บนอินเตอร์เน็ตที่มีต่อความจงรักภักดีของลูกค้าธุรกิจเครื่องสำอางในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ทรงศรี ด่านพัฒนาภูมิ. (2557). ประสิทธิผลการดำเนินงานของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของธุรกิจโรงแรมในภาคตะวันออกของประเทศไทย. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 7(1), 245–260.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563). ผลกระทบวิกฤต COVID-19 กับเศรษฐกิจโลก: This Time is Different. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2563, จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_18Mar2020.aspx.

นิคม คำมาเร็ว. (2562). การบริหารลูกค้าสัมพันธ์และส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเช่าเครื่องพิมพ์คอมพิวเตอร์ของหน่วยงานราชการจังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

วสุธิดา นุริตมนต์. (2563). บทบาทของการรับรู้ภาพลักษณ์และคุณภาพการบริการที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการซ้ำของผู้บริโภคร้านกาแฟ ประเภทกาแฟ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 2(6), 61-74.

ศูนย์กสิกรไทย. (2562). ตลาดรถยนต์ปี 63 คาดดีที่สุดคือระดับทรงตัวจากปี 62 ขณะที่ยอดขายรถอีโคคาร์และรถยนต์ไฟฟ้าคาดว่าจะเติบโตได้ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3059). สืบค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2562, จาก https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-econ/business/Pages/z3059.aspx

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2562). จำนวนรถใหม่ที่จดทะเบียน จำแนกตามประเภทรถ พ.ศ. 2552-2561. สืบค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2562, จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/15.aspx.

สุวรรณา ดอกไม้คลี่. (2557). กลยุทธ์การจัดการลูกค้าสัมพันธ์และการตลาดเพื่อสังคมที่มีผลต่อความจงรักภักดีต่อแบรนด์ธุรกิจเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของลูกค้าเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย.

อัจจิมา อินทรวิเชียร. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการฐานข้อมูลเชิงพลวัตกับความสำเร็จของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Agnihotri, R., Trainor, K. J., Itani, O. S., & Rodriguez, M. (2017). Examining the role of sales-based CRM technology and social media use on post-sale service behaviors in India. Journal of Business Research, 81, 144–154.

Assion Lawson-Body, M. L. (2004). The Impact of Customer Relationship Management on Customer Loyalty: the Moderating Role of Web Site Characteristics. Journal of Computer-Mediated Communication, 9(4), 1–20.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate data analysis. 6th ed. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall.

Morgan, N. A., Clark, B. H., & Gooner, R. (2002). Marketing productivity, marketing audits, and systems for marketing performance assessment: Integrating multiple perspectives. Journal of Business Research, 55(5), 363–375.

Santouridis, I., & Tsachtani, E. (2015). Investigating the Impact of CRM Resources on CRM Processes: A Customer Life-cycle Based Approach in the Case of a Greek Bank. Procedia Economics and Finance, 19, 304–313.