ผลกระทบของทักษะทางการบัญชีดิจิทัลที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานทางบัญชี ของนักบัญชีในเขตนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

Main Article Content

วิยะดา สุวรรณเพชร
อุเทน เลานำทา
ธัญกมล ปะละฤทธิ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลกระทบของทักษะทางการบัญชีดิจิทัลที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานทางบัญชีของนักบัญชีในเขตนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักบัญชีในเขตนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย จำนวน 208 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ แบบพหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ทักษะทางการบัญชีดิจิทัล ด้านการใช้โครงสร้างพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการประยุกต์ใช้ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ ด้านการทำธุรกรรมบัญชีออนไลน์ และด้านการสื่อสารสนเทศทางการบัญชี มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับความสำเร็จในการปฏิบัติงานทางบัญชีโดยรวม ดังนั้น นักบัญชีในเขตนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จึงควรให้ความสำคัญกับทักษะทางการบัญชีดิจิทัลเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานทางบัญชี โดยการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ความชำนาญทางการบัญชีดิจิทัลของตนเอง ให้พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตและสามารถใช้ทักษะ ทางการบัญชีดิจิทัลที่มีการวิเคราะห์ปัญหา การตัดสินใจ และการวางแผนกำหนดนโยบาย ในการปฏิบัติงานทางบัญชีให้เกิดความสำเร็จและเป็นประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2562). ข้อมูลทั่วไปของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://www.ieat.go.th/about/roles-responsibilities [สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2562].

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2562). ข้อมูลโรงงานการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://www.ieat.go.th/ieat-industry-port-factory/ieat-industrial-estates/ieat-industrial-estates-in-thailand [สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2562].

จิราภรณ์ คงสมมาตย์, จุรีรัตน์ ไชยจันทร์ และคมสัน ระย้าแดง. (2559). ทักษะการบริหารตามบทบาทและผู้นำของมหาวิทยาลัยเทคโนโนโลยีราชมงคลตะวันออกสู่ประชาคมอาเซียน. วารสารสังคมศาสตร์, 5(1).

ธีรินทร์ เกตุวิชิต. (2561). ปัจจัยของผู้ประกอบการการสนับสนุนของภาครัฐประสิทธิผลการบริหารจัดการระบบและการแข่งขันที่มีผลต่อความสำเร็จของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

นันทวรรณ บุญช่วง. (2563). ยุคพลิกผันทางเทคโนโลยีกับการพัฒนานักบัญชีนวัตกร. วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 3(1), มกราคม-เมษายน 63.

บรรจงจิตต์ อังศุสิงห์. (2560). กรมพัฒนาธุรกิจการค้าปรับโฉมสำนักงานบัญชีไทยสู่ระบบดิจิตอลรับไทยแลนด์ 4.0. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://mgronline.com/smes/detail [สืบค้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2562].

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: บุญศิริ.

บุญช่วง ศรีธรราษฎร์. (2561). ผลกระทบของสมรรถนะทางการบัญชีสมัยใหม่ที่มีต่อความสำเร็จในการทำงานของนักบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือเมื่อเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ. วารสารวิชาการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 5(1).

ปฐมพงษ์ บำเริบ. (2559). การพาณิชย์บนโทรศัพท์เคลื่อนที่กุญแจดอกสำคัญในการขับเคลือนระบบเศรษฐกิจไทย. วารสารกสทช.

ศฐา วรุณกูล และกุลชญา แว่นแก้ว. (2560). วัฒนธรรมกับการประยุกต์ใช้ e-taxinvoice ในประเทศไทยกรณีศึกษาบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ. (2561). การเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลของประเทศไทย เพื่อนำไปสู่ Thailand 4.0. วารสารวิชาการกสทช.

รพิรัตน์ ลือชานิติโพธ. (2557). ผลกระทบของทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อคุณภาพการปฏิบัติงานบัญชีของผู้ทำบัญชีในเขตภาคตะวันออก. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุภาพร แจ่มศรี. (2554). ผลกระทบของการเรียนรู้ทางการบัญชีอย่างต่อเนื่องที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของผู้ทำบัญชีในจังหวัดนครราชสีมา. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สมใจ ลักษณะ. (2552). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2552). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8 มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุวิมล ตรีคงธรรมกุล. (2561). ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชีผ่านสื่อดิจิทัลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้บริหารในสำนักงานบัญชี. บทความวิชาการค้นคว้าอิสระ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อรณี ศรีคำมูล. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพกับความสำเร็จในการทำงานของนักบัญชี: กรณีศึกษานักบัญชีในธุรกิจสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 11(1).

Aaker, D.A., Kumar, V. and Day, G. (2001). Marketing Research. 7th ed. New York: John Wiley and Sons.

Hair, J.F., Black, W.C. and erson, R.E. (2006). Multivariate anta Analysis. 6th eh. New Jersey: Pearson.

Ming Hsien Yang. (2011). The impact of computerized internal controls adaptation on operating performance. African Journal of Business Management., 5(20)(September).

National e-Payment. (2562). Digital Economy.

wosu, E.N. (2008). Information Systems/Technology Skills Needs for Small versus Large Accounting Firms in Western Pennsylvania. University of New Orleans.