ทัศนคติ ความไว้วางใจที่มีต่อความตั้งใจใช้งานนวัตกรรมทางการเงินในประเทศไทย

Main Article Content

ธนาภิญญ์ อัตตฤทธิ์
ดวงพร ขุนอาจสูงเนิน
สุกฤตา บุรินทร์วัฒนา

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติ ความไว้วางใจที่มีต่อความตั้งใจใช้งานนวัตกรรม ทางการเงินในประเทศไทย คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาข้อมูลทั่วไป และทัศนคติ ความไว้วางใจที่มีต่อ ความตั้งใจใช้งานนวัตกรรมทางการเงินของประเทศไทย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สมการถดถอยแบบพหุคูณ ถูกใช้ในการทดสอบสมมติฐานที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัย ด้านทัศนคติได้แก่ ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ ด้านความง่ายต่อการใช้งาน และด้านความปลอดภัย มี อิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจใช้งานนวัตกรรมทางการเงินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ ปัจจัยด้านความไว้วางใจ ได้แก่ ด้านความคุ้นเคยต่อธนาคาร และด้านความมีมาตรฐานการรับประกัน มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจใช้งานนวัตกรรมทางการเงิน โดยค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยของทัศนคติที่ ส่งผลเชิงบวกต่อความตั้งใจใช้งานนวัตกรรมทางการเงินในประเทศไทย ด้านความปลอดภัยมีอิทธิพล เชิงบวกมากที่สุด รองลงมาเป็น ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์และด้านความง่ายต่อการใช้งาน ตามลำดับ และเมื่อพิจารณาน้ำหนักของปัจจัยความไว้วางใจที่ส่งผลเชิงบวกต่อความตั้งใจใช้งานนวัตกรรมทาง การเงิน พบว่า ด้านความคุ้นเคยต่อธนาคารรองลงมาเป็นด้านความมีมาตรฐานการรับประกัน ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Article Details

How to Cite
อัตตฤทธิ์ ธ. ., ขุนอาจสูงเนิน ด. ., & บุรินทร์วัฒนา ส. . (2020). ทัศนคติ ความไว้วางใจที่มีต่อความตั้งใจใช้งานนวัตกรรมทางการเงินในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 2(5), 29–43. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/MSJournal/article/view/3414
บท
บทความวิจัย

References

กรวินท์ กรประเสริฐวิทย์. (2558). ทัศนคติความรู้ความเข้าใจ พฤติกรรม และ คุณลักษณะการใช้งานของเทคโนโลยี ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการใช้เครื่องชำระค่าโทรศัพท์อัตโนมัติของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

กัลยา วานิชยบัญชา. (2554). การใช้ SPSS for windows ในการวิเคราะหข้อมูล. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

กุลธิดา ชัยนิคม. (2559). พฤติกรรมและปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ บริการธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขาภูเวียง. สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ฉัตรรัชดา วิโรจน์รัตน์, ฉายรุ่ง ไชยกำบัง, กิติศักดิ์ เรืองวชิรปัญญา, อนุชา พุฒิกูลสาคร, ปาลวี พุฒิกูลสาคร, จุฑามาศ สุนทร และ นุสรา วรรณศิริ. (2562). ศักยภาพการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการตรวจสอบที่มีความน่าเชื่อถือทางการตรวจสอบและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานทางการสอบบัญชีที่ดีของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 1(6), 37-47.

ชิดชน พันธ์น้อย (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการธุรกรรมทางการเงิน อิเลกทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์มือถือของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2562, จาก http:// http://www.mmm.ru.ac.th/mmm/is/mmm24-1/6014133085.pdf.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). ข้อมูลธนาคารพาณิชย์ที่มีสาขาลดลง. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2562, จาก https://www.bot.or.th/Thai/Statistics/FinancialInstitutions/Pages/StatNumberofBranches.aspx.

ธนาภา หิมารัตร์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีทางการเงินบริบทธนาคารพาณิชย์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธีรวัตร อมรรัตนกิจ. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจในการใช้บริการ QR code payment ผ่าน Mobile banking ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารระบบสารสนเทศด้านธุรกิจ, 4(4), 46-63.

เพ็ญแข แสงแก้ว. (2541). การวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์, สุภมาส อังศุโชติ และ อัจฉรา ชานิประศาสน์. (2555). สถิติสำหรับการวิจัยและเทคนิคการใช้ SPSS. กรุงเทพมหานคร: เจริญมั่นคงการพิมพ์.

วนิดา วาดีเจริญ. (2560). ระเบียบวิธีวิจัยจากแนวคิดทฤษฎีสู่ภาคปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

วลนภา ธนศักดิ์. (2562). แนวโน้มคนไทยใช้สมาร์ทโฟนมากขึ้น. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลาคม 2562, จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/ActivityNSO/A24-05-60.aspx.

วัชรพล คงเจริญ. (2557). ทัศนคติที่มีต่อนวัตกรรมทางการเงิน. สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

วิมลวรรณ สุวรรณรักษ์. (2559). การเปรียบเทียบการยอมรับนวัตกรรมทางการเงินของธนาคารเอกชนกับธนาคารรัฐบาลในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล : กรณีศึกษาธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) กับ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

อนุศักดิ์ รัตนกนกกาญจน์ และ ปริฉัตร วงศ์ปัจฉิม. (2562). ปัจจัยในการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครอุดรธานี. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 1(6), 63-79.

Armstrong, J. S., & Overton, T. S. (1977). Estimating Non-response Bias in Mail Surveys. Journal of Marketing Research, 14(3), 396-402.

Ericsson. (2016). South East Asia and Oceania mobility report. Retrieved October 18, 2019, from https://www.ericsson.com/assets/local/news/2014/6/regionalappendices-sea-final-screen.pdf.

Gu, J. C., Lee, S. C., & Suh, Y. H. (2009). Determinants of behavioral intention to mobile banking. Expert Systems with Applications, 36(9), 11605-11616.

Lin, C. H., Shih, H. Y., & Sher, P. J. (2007). Integrating technology readiness into technology acceptance: The TRAM model. Psychology & Marketing, 24(7), 641-657.

Luarn, P., & Lin, H. H. (2005). Toward an understanding of the behavioral intention to use mobile banking. Computers in human behavior, 21(6), 873-891.

Ooi, K. B., & Tan, G. W. H. (2016). Mobile technology acceptance model: An investigation using mobile users to explore smartphone credit card. Expert Systems with Applications, 59(October), 33-46.

Shin, S., & Lee, W. J. (2014). The effects of technology readiness and technology acceptance on NFC mobile payment services in Korea. Journal of Applied Business Research, 30(6), 1615-1626.