ปัจจัยในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของนักบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องปัจจัยในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของนักบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลกระทบของปัจจัยในการปฏิบัติงานของนักบัญชี ด้านความเป็นมืออาชีพของนักบัญชี ด้านจรรยาบรรณวิชาชีพ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงิน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักบัญชี บริษัทในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 139 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยในการปฏิบัติงาน ด้านจรรยาบรรณวิชาชีพและด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับคุณภาพรายงานทางการเงิน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้
ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละเรื่องเป็นความคิดเห็นของผู้เขียนบทความแต่ละท่าน
References
ณัฐวุฒิ ตันติเศรษฐ (2558). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพของงบการเงินและประสิทธิผลในการตัดสินใจของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 6(2), 20-35.
นักบัญชีคลับ. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2562, จาก http://cpdtutor.com.
ประดินันท์ ประดับศิลป์ และ ลักษณา เกตุเตียน. (2557). จรรยาบรรณวิชาชีพของผู้ทำบัญชีที่ปฏิบัติงานในสำนักงานบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครต่อการจัดทำบัญชีและนำเสนองบการเงินที่อยู่นอกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
พลพธู ปียวรรณ และ กัญนิภัทธิ์ นิธิโรจน์ธนัท. (2557). ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
ศิริพร พงศ์ศรีโรจน์. (2540). องค์การและการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2551). พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 International Education Standards (IES). สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2562, จาก http://www.fap.or.th
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558). กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2558). สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2562, จาก http://www.fap.or.th
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ ฉบับที่ 2 เรื่องเนื้อหาของโปรแกรมการศึกษาสำหรับวิชาชีพบัญชี. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2562, จาก http://www.fap.or.th
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ ฉบับที่ 3 เรื่องทักษะทางวิชาชีพ. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2562, จาก http://www.fap.or.th
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ ฉบับที่ 4 เรื่อง คุณค่าจรรยาบรรณ และทัศนคติในวิชาชีพ. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2562, จาก http://www.fap.or.th
สุภาพร แช่มช้อย. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อแนวปฏิบัติงานบัญชีของนักบัญชีไทย. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2562, จาก http://www.fap.or.th
Aaker, D. A., Kumar, V. and Day, G. S. (2001). Marketing Research. New York: John Wiley and Sons.
Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory. (2nd ed.). New York, NY: McGraw-Hill.
Yamane, Taro. (1973). Applied Sampling. New York: Academic Press.