ตัวแบบปัจจัยผลักดันที่มีผลต่อการย้ายถิ่นของแรงงานข้ามชาติลาว ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ เป็นการพัฒนาตัวแบบปัจจัยผลักดันที่มีผลต่อการย้ายถิ่นของแรงงานข้ามชาติลาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย มีลักษณะเป็นวิจัยเชิงปริมาณเพื่อทดสอบทฤษฎีด้วยวิธีการทางสถิติ กลุ่มตัวอย่างเป็นแรงงานข้ามชาติลาวที่เข้ามาทำงานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย จำนวน 200 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบมาตรวัดประมาณค่า 7 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง ผลจากการวิจัย พบว่า ตัวแบบปัจจัยผลักดันที่มีผลต่อการย้ายถิ่นของแรงงานข้ามชาติลาว มี 4 องค์ประกอบ 10 ตัวแปร ได้แก่ องค์ประกอบด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้วย เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อัตราการว่างงาน ค่าจ้าง และความยากจน องค์ประกอบด้านสังคม ประกอบด้วย ระบบสาธารณสุข และระบบการศึกษา องค์ประกอบด้านวัฒนธรรม ประกอบด้วย ความท้าทายในชีวิต และความทันสมัย องค์ประกอบด้านการเมือง ประกอบด้วย นโยบายกำลังแรงงาน และนโยบายส่งออกแรงงาน โดยตัวแบบมีความตรงเชิงโครงสร้างและมีความเที่ยงในการวัดอยู่ในเกณฑ์ดี
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้
ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละเรื่องเป็นความคิดเห็นของผู้เขียนบทความแต่ละท่าน
References
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2558). คู่มือโอกาสและทิศทางการค้าและการลงทุนในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. นนทบุรี: กระทรวงพาณิชย์.
กระแส ชนะวงศ์, นฤมล สินสุพรรณ, อาทิตย์ ฉัตรชัยพลรัตน์ และ กุหลาบ ปุริสาร. (2560). นโยบายสาธารณสุข ระบบบริการสุขภาพและประกันสุขภาพของประเทศเพื่อนบ้านในประชาคมอาเซียน. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย, 7(1), หน้า 7-18.
ชาตรี มูลสถาน. (2554). การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวลาวในประเทศไทยใน พ.ศ. 2563. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาคริสเตียน.
ชูพักตร์ สุทธิสา. (2556). แรงงานข้ามชาติลาวภาคอุตสาหกรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
ธนาคารโลก. (2012). พลังบวกจากแรงงานข้ามชาติ แนวโน้มด้านการย้ายถิ่นและบทเรียนเชิงนโยบายในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง. กรุงเทพฯ: ธนาคารโลก (สำนักงานในประเทศไทย).
นฤมล นิราทร. (2555). การย้ายถิ่นของแรงงานในอาเซียน: กรณีแรงงานไร้ฝีมือในประเทศไทย. บทความนำเสนอใน สัมมนาโครงการธรรมศาสตร์-อาเซียน เราจะอยู่ร่วมกันอย่างไรในอาเซียน: ประชาคมภายใต้ความหลากหลาย, ห้อง LT- 1 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ 30 เมษายน 2555.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2559). อ่วม ราคาสินค้าพุ่ง 30% ลาวร้องรัฐไร้ประสิทธิภาพ. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2561 จาก https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1470206648
ปราการ พิพัฒน์สูงเนิน. (2562). ตัวแบบปัจจัยดึงดูดที่มีผลต่อการย้ายถิ่นของแรงงานข้ามชาติลาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 1(5), 1-17.
พฤกษ์ เถาถวิล และ สุธีร์ สาตราคม. (2556). สปป.ลาว: อุปสรรคการกำกับควบคุมของรัฐตามกรอบ MOU ระหว่างประเทศด้านการจ้างแรงงาน. วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 9(2), 25-54.
พัชราวลัย วงศ์บุญสิน. (2552). การย้ายถิ่น: ทฤษฎีและความเป็นไปในเอเชีย. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภูเขียว จันทร์สมบูรณ์. (2549). การศึกษาปัจจัยดึงดูดและปัจจัยผลักดันในการย้ายถิ่นเพื่อขายแรงงานของแรงงานจากนครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
มีชัย แสงจันทร์ทะวงค์. (2550). การวิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบของการไปทำงานต่างประเทศของแรงงานลาวในนครหลวงเวียงจันทร์. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิสิฏฐ์ คิดคำส่วน, อนาโตล โรเจอร์ เป็ลติเยร์, สมหมาย เปรมจิตต์ และ พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์. (2557). วาทกรรมความขาว: อัตลักษณ์ความงามของผู้หญิงลาวในวัฒนธรรมสมัยนิยม. วารสารบัณฑิตศึกษา, 11(55), 69-78.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2558). ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. กรุงเทพฯ: กรกนกการพิมพ์.
สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว. (2558). วารสารสถิติจำนวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือทั่วราชอาณาจักร. กรุงเทพฯ: กรมการจัดหางาน.
สิริรัฐ สุกันธา. (2557). การเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติสัญชาติพม่าในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 18(1), 45-63.
สุพัตตรา ตันติจริยาพันธ์. (2555). การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยการบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย: การศึกษาแรงงานพม่าในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่. ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณา และรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์. (2551). สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์: เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL. กรุงเทพมหานคร: มิสชั่น มีเดีย.
สุภางค์ จันทวานิช และ Gary Risser. (2539). การย้ายถิ่นข้ามชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออก: สถานการณ์ทั่วไปและผลกระทบต่อแรงงานข้ามชาติและแรงงานไทย. วารสารหางานปริทัศน์, 1(3), 91.
สุลิยา คำวงสา. (2554). สภาพทั่วไปและผลของการไปทำงานในประเทศไทยของแรงงานลาว. วิทยานิพนธ์ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Bollen, K. A. (1989). Structural Equations with Latent Variables. New York: Wliey.
Changpitikoun, S. (2008). Factors Influencing Child Workers’ Migration from Lao PDR to Thailand and Consequences: A Case Study of Child Domestic Workers. A Thesis, Master of Art Program in Southeast Asian Studies, Chulalongkorn University.
Hair, J. F., et al. (1998). Multivariate Data Analysis. (5th ed.). London: Prentice-Hall International.
Howe, B., & Sims, K. (2011). Human Security and Development in the Lao PDR Freedom from Fear and Freedom from Want. Asian Survey, 51(2), pp.333-355.
Hu, L. T., & Bentler, P. M. (1999). Cutoff criteria for fit indexes in covariance structure analysis: Conventional criteria versus new alternative. Structural Equation Modeling, 6(1), 1-55.
Joreskog, K. D., & Sorbom, D. (1989). Lisrel 7: User’s Reference Guide. Chicago: Scientific Software International.
Piore, M. J. (1979). Birds of Passage: Migrant Labor and Industrial Societies. Cambridge: Cambridge University Press.
Wallerstien, I. (1974). The Modern World-System. New York: Academic Press.
Wallerstien, I. (1976). The Modern World-System: Capitalist Agriculture and the Origins of the European World-Economy in the Sixteenth Century. New York: Academic Press.