อิทธิพลของความรู้เกี่ยวกับการเกษตรเพื่อสิ่งแวดล้อมที่มีต่อผลประกอบการในบทบาทของความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมของเกษตรกรในจังหวัดเพชรบุรี

Main Article Content

วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์
ศศิภรณ์ ตันติปิธรรม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อิทธิพลของความรู้เกี่ยวกับการเกษตรเพื่อสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อผลประกอบการของเกษตรกรในจังหวัดเพชรบุรี 2) อิทธิพลของความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับเกษตรเพื่อสิ่งแวดล้อมกับผลประกอบการของเกษตรกรในจังหวัดเพชรบุรี โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเกษตรกรในจังหวัดเพชรบุรี ด้วยการสุ่ม จำนวน 105 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ และการทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ความรู้เกี่ยวกับการเกษตรเพื่อสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลเชิงบวกต่อผลประกอบการของเกษตรกรในจังหวัดเพชรบุรีอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 โดยความรู้เกี่ยวกับการเกษตรเพื่อสิ่งแวดล้อมด้านกระบวนการผลิตมีอิทธิพลต่อผลประกอบการมากที่สุด 2) ความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมส่งผลเชิงบวกต่อความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับการเกษตรเพื่อสิ่งแวดล้อมและผลประกอบการ งานวิจัยนี้สามารถนำมาเป็นแนวทางให้กับเกษตรกรเพื่อเพิ่มความรู้และความตระหนักในการประกอบกิจการ

Article Details

How to Cite
เจษฎาลักษณ์ ว., & ตันติปิธรรม ศ. (2020). อิทธิพลของความรู้เกี่ยวกับการเกษตรเพื่อสิ่งแวดล้อมที่มีต่อผลประกอบการในบทบาทของความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมของเกษตรกรในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 2(2), 1–12. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/MSJournal/article/view/3518
บท
บทความวิจัย

References

กิตติภูมิ มีประดิษฐ์. (2559). สร้างความตระหนักในสิ่งแวดล้อม เพื่อหยุดมรดกแห่งมลพิษ. สืบค้น

เมื่อ 15 มิถุนายน 2563, จาก : https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/637550

กรีนเนท. (2562). เกษตรอินทรีย์คืออะไร. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2563, จาก : https://www.greennet.or.th/principle-oa/

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน). (2560). เศรษฐกิจหมุนเวียน. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2563, จาก : https://www.pttgcgroup.com/th/sustainability/circular-economy

ประสพชัย พสุนนท.์ (2555). การวิจัยการตลาด(Vol.444). กรุงเทพมหานครฯ: บริษัท สำนักพิมพ์ ท้อป จำกัด.

ปัทมาพร ท่อชู. (2539). ทำความเข้าใจแนวคิดของการเพิ่มผลผลิต. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2563, จาก: http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.php?id=461&section=4&issues=24

พิทักษ์พงศ์ ป้อมปราณี. (2558). การพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรที่เหมาะสมโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่เกษตรกรใน

ชุมชนจังหวัดนครปฐม. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.รณินทร กิจกลา. (2555). การจัดการความรู (Knowledge Management : KM) เครื่องมือการ พัฒนาองคกรตามแนวทางการจัดการสมัยใหม. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2563, จาก : http://www.crc.ac.th/KM/KM_manual.pdf

รติมา คชนันทน์. (2562). เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy). สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2563. จาก : https://library2.parliament.go.th/ebook/content-issue/2562/hi2562-010.pdf

เรวัต ตันตยานนท์. (2559). กำไรจากธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2563, จาก : https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/637885

วีระศักดิ์ สุตัณฑวิบูลย์. (2562). เศรษฐกิจหมุนเวียน. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2563, จาก : https://www.prachachat.net/finance/news-384463

สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2550). เศรษฐศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ. (2020). วิธีการสร้างความตระหนักคุณภาพ. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2563, จาก : https://www.isotoyou2.com/index.php/110-quality-awareness

สำนักงานที่ปรึกษาด้านอุตสาหกรรมในต่างประเทศ. (2559). เศรษฐกิจหมุนเวียน (CIRCULAR ECONOMY). สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2563, จาก : https://thaiindustrialoffice.wordpress.com/2016/07/03/%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99-circular-economy/

สุริยนต์ ปันทะนะ. (2556). การจัดการความรู้เรื่องการอนุรักษ์พันธุ์ข้าวเหนียวสันป่าตองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น,ขอนแก่น.

Breckler, S.W. (1986). Attitude Structure and Function. Hillsdale. New Jersey : L. Erlbaum Association.

ADVANTA THAILAND. (2559). ระบบการเกษตรแบบยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2563, จาก : http://www.advantaseedsth.com/article/detail/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B8%B7%E0%B8%99-sustainable-agriculture/

Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill Book.

IM2Market. (2559). ความรู้ หมายถึง. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2563, จาก : https://www.im2market.com/2016/08/26/3502

Jadesadalug, Viroj and Phapruk Ussahawanichakit. (2009). “Building Innovative Creation Efficiency of Furniture Business in Thailand An Empirical Research of Its Antecedents and Consequences.” International Journal of Strategic Management, 9(3) : 36-58.