แนวโน้มการซื้อหุ้นคืนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2559-2561
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวโน้มการซื้อหุ้นคืนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ย้อนหลัง 3 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2561 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสารวจด้วยตนเอง จานวนทั้งสิ้น 793 บริษัท ผลการศึกษาพบว่าบริษัทมีการซื้อหุ้นคืน คิดเป็นร้อยละ 3.15 บริษัทที่ไม่มีการซื้อหุ้นคืน คิดเป็นร้อยละ 1.51 และบริษัทที่เริ่มมีการซื้อหุ้นคืนในปี พ.ศ.2561 คิดเป็นร้อยละ 95.34 นอกจากนี้ยังพบว่า บริษัทมีแนวโน้มการซื้อหุ้นคืนในลักษณะไม่เปลี่ยนแปลง คิดเป็นร้อยละ 40 รองลงมาคือ บริษัทมีแนวโน้มการซื้อหุ้นคืนในลักษณะลดลง คิดเป็นร้อยละ 32 และบริษัทมีแนวโน้มการซื้อหุ้นคืนในลักษณะเปลี่ยนแปลง คิดเป็นร้อยละ 16 ตามลาดับ สารสนเทศที่ได้จากงานวิจัยนี้ เป็นประโยชน์ต่อนักลงทุนในการพิจารณากาไรต่อหุ้นเพื่อการลงทุนภายหลังการซื้อหุ้นคืนของบริษัทได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้
ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละเรื่องเป็นความคิดเห็นของผู้เขียนบทความแต่ละท่าน
References
ขนิษฐา จิตสุข. (2556). ผลกระทบของการซื้อหุ้นคืนต่อราคาหุ้นและสภาพคล่องของบริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชุติกาญจน์ แย้มยิ้ม (2558). การซื้อหุ้นคืนตามสมมติฐานการทดแทนเงินปันผลของบริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแ์ห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฐานิสร์ พยับเดชาชัย. (2556). การดาเนินโครงการซื้อหุ้นกลับคืนในมุมมองของสมมติฐานกระแส เงินสดอิสระและการกากับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2562ก). สรุปข้อสนเทศของบริษัทจดทะเบียน. สืบค้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2562, จาก https://www.set.or.th/set/companyprofile.do?symbol=A&ssoPageId=4&language=th&country=TH.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2562ข). สรุปภาพรวมตลาด. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2562 จาก https://marketdata.set.or.th.
ธนากร บัวจันทร์ (2560). ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับความเสียหายที่เกิดจากการอนุญาตให้ซื้อหุ้นคืนจากบริษัทมหาชนจากัด. สารนิพนธ์ นิติศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
นราทิพย์ ทับเที่ยง. (2556). แรงจูงใจในการซื้อหุ้นคืนและผลกระทบต่อการตัดสินใจยุติโครงการหุ้น ทุนซื้อคืนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและตลาดเอ็ม เอ ไอ. วารสารคณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนศาสตร์, 53, 37-65.
ลลิตา ปัญญาสว่างจิตร. (2553). การศึกษาสาเหตุของการซื้อหุ้นคืนของบริษัทจดทะเบียนไทย. การศึกษาค้นคว้าอิสระ บัญชีมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Brown, C., and O’Day, J. (2006). The Relationship between share repurchases and dividends in an Imputation tax environment. University of Melbourne Working Paper. Retrieved June 12, 2008, from www.melbournecentre.com_au/working?papers/2005_03BrownODay.pdf.
Brown, C., Handley, J., and O'day, J. (2015). The Dividend Substitution Hypothesis: Australian Evidence. Abacus, 51(1), 37-62.
Gordon, M. J., and Shapiro, E. (1956). Capital investment analysis: the required rate of profit. Management Science, 3, 102-110.
Grullon, G., and Michaely, R. (2004). The information content of share repurchase programs. Journal of Finance, 59, 651-680.
Hyderabad, R. L. (2013). Are Share Repurchases Subsitutes for Dividend Payment in India? The IUP Journal of Applied Finance, 19(1), 27-50.
John, K., and William, J. (1985). Dividends, dilution, and taxes. Journal of Finance, 40, 1053-1070.
Kooli, M., & L'her, J.-F. (2010) Dividends versus Share Repurchases Evidence from Canada: 1985-2003. Financial Review, 45(1), 57-81.
Miller, M., and Modigliani, F. (1961). Dividend Policy, Growth, and the Valuation of Shares. Journal of Business, 34, 411-433.