การประมาณค่าความผันผวนของอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ด้านความยั่งยืน ในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • กัญญารัตน์ ไชยสงคราม -
  • วรรณกิตติ์ วรรณศิลป์

คำสำคัญ:

ตราสารหนี้ด้านความยั่งยืน , ความผันผวนของอัตราผลตอบแทน

บทคัดย่อ

 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างตัวแบบในการประมาณค่าอัตราผลตอบแทนตราสารหนี้ด้านความ
ยั่งยืน(ESG Bonds) จากตัวแปรถดถอย และวิเคราะห์ลักษณะของความผันผวนของอัตราผลตอบแทนของตรา
สารหนี้ด้านความยั่งยืนในประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลอนุกรมเวลารายวันของอัตราผลตอบแทนตราสารหนี้ด้าน
ความยั่งยืน รวม 877 ค่าสังเกต ตั้งแต่วันที่ 5 เดือนมกราคม ปีพ.ศ. 2564 ถึง วันที่ 4 เดือนมิถุนายน ปีพ.ศ.
2566
ผลการศึกษาพบว่าตัวแบบที่เหมาะสมในการประมาณค่าอัตราผลตอบแทนตราสารหนี้ด้านความ
ยั่งยืนประเภทพันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ และหุ้นกู้เอกชน คือแบบจ าลอง ARIMA(1,1,0)
ARIMA(1,1,2) และ ARIMA(1,1,3) ตามลำดับ และจากการวิเคราะห์ลักษณะของความผันผวนของอัตรา
ผลตอบแทนตราสารหนี้ด้านความยั่งยืนพบว่า ตราสารหนี้ด้านความยั่งยืนประเภทพันธบัตรรัฐบาลมีลักษณะ
ความผันผวนที่คงที่ แต่สำหรับตราสารหนี้ด้านความยั่งยืนประเภทพันธบัตรรัฐวิสาหกิจและหุ้นกู้เอกชนนั้นมี
ลักษณะความผันผวนที่ไม่คงที่ ซึ่งลักษณะของความผันผวนเป็นไปตามแบบจำลอง GARCH(2,2) และARCH(2)
ตามล าดับ

References

กรวีร์ วิเวก, ณัฏฐณิชา ฉายรัศมี. (2023). ความเต็มใจที่จะยอมรับส่วนต่างของผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเพื่อความยั่งยืน. วารสารสังคมศาสตร์ปัญญาพัฒน์, 5(1), 171-186.

กัญสุดา นิ่มอนุสสรณ์กุล, เริงชัย ตันสุชาติ. (2553). แบบจำลองอัตราผลตอบแทนและความผันผวนของตลาดหลักทรัพย์ตลาดพันธบัตรและตลาดอัตราแลกเปลี่ยนสำหรับประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น. CHIANG MAI UNIVERSITY JOURNAL OF ECONOMICS, 14(1), 70-90.

เกสินี หมื่นไธสง. (2564). ผลกระทบความผันผวนของราคาข้าวโพดที่ส่งผลต่ออุปทานการผลิตไก่เนื้อของไทย. วารสารชุมชนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 15(3), 116-130.

ชลธิชา ประดิษฐกุล, สุจรรย์ พินธ์สุวรรณพันธ์. (2561). การทดสอบความสามารถในการทำกำไรจาก ความผันผวนของอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยใช้การวิเคราะห์ทาง เทคนิค. วารสารบัณฑิตวิจัย, 9(1), 235-248.

ภูมิฐาน รังคกูลนุวัฒน์ (2556). การวิเคราะห์อนุกรมเวลาสำหรับเศรษฐศาสตร์และธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). วี.พริ้นท์(1991) จำกัด. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณัฐพร ศรีทอง (2564). ส่องทิศทาง ESG Bond:อนาคตการระดมทุนและการลงทุนที่ตอบโจทย์ความยั่งยืน. สืบค้น มิถุนายน 8, 2566 จากhttps://krungthai.com/Download/economyresources/EconomyResourcesDownload_654Research_Note_10_02_64.pdf

นรเศรษฐ ศรีธานี. (2560). ประสิทธิผลของการป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนของผลตอบแทนจากการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยอาศัยสัญญาฟิวเจอร์ส. BU Academic Review, 16(2), 101-116.

ศิริขวัญ เจริญวิริยะกุล, ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์. (2563). ความผันผวนของราคาน้ำมันอัตราแลกเปลี่ยนและผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย: วิธีพลวัต. วารสารบริหารธุรกิจเศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร, 15(1), 135-149.

สโรชา อนุกูล, เยาวเรศ เชาวนพูนผล, กรรณิกา แซ่ลิ่ว. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผันผวนของราคายางแผ่นรมควันชั้น3 ของประเทศไทย. วารสารเกษตร, 38(3), 345-356.

สุรชัย จันทร์จรัส, ทวีโชค ปุญญนิรันดร์. (2557). การพยากรณ์ความผันผวนของราคายางแท่งเอสทีอาร์20 ในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 8(3), 95-104.

สุรชัย จันทร์จรัส, ลัดดา วรรณอาจพรม. (2556). การประมาณค่าความผันผวน และการพยากรณ์มูลค่ากองทุนรวมหุ้นระยะยาว. Silpakorn University Journal, 73-92.

สุรชัย จันทร์จรัส, เมริษา เทพบรรหาร. (2557). การประมาณค่าความผันผวนของอัตราผลตอบแทนของสัญญาฟิวเจอร์สที่อ้างอิงกับดัชนีเซท50โดยใช้แบบจำลอง GARCH-X. Sripatum Review of Humanities and Social Sciences, 14(1), 61-72.

อภิวิชญ์ จามีกรกุล. (2566). การพยากรณ์ความผันผวนของราคาสกุลเงินดิจิทัล Binance Coin และ Doge Coin. Procedia of Multidisciplinary Research, 1(5), 43-43.

อรมน ทรัพย์ทวีธรรม (2562). มารู้จักความตกลง UNFCC ลดก๊าซเรือนกระจก. สืบค้น มิถุนายน 8, 2566 จาก https://www.prachachat.net/columns/news-284544

Bollerslev, T. (1986). Generalized autoregressive conditional heteroskedasticity. Journal of econometrics, 31(3), 307-327

Jaroenwiriyakul, S. (2019). TRILATERAL RELATIONSHIP AMONG FOREIGN EXCHANGE RATES, OIL PRICES, AND STOCK RETURNS IN THAILAND: A DYNAMIC APPROACH. Srinakharinwirot Business Journal, 10(1), 145-156.

Khangphukhieo, W., Thanarat, P., & Busababadhin, P. (2019). Forecasting volatility of SET with artificial neural network-GARCH models. Journal of Applied Science and Emerging Technology, 18(1), 49-61.

Kittisuwan, P., Korchitwisarn, R., & Jearviriyaboonya, J. (2022). Measuring the Return and Volatility of Cryptocurrencies: A Case Study of Thailand. KKBS Journal of Business Administration and Accountancy, 6(1), 1-15.

Kocaarslan, B. (2021). How does the reserve currency (US dollar) affect the diversification capacity of green bond investments?. Journal of Cleaner Production, 307, 127275.

Mensi, W., Shafiullah, M., Vo, X. V., & Kang, S. H. (2022). Spillovers and connectedness between green bond and stock markets in bearish and bullish market scenarios. Finance Research Letters, 49, 103120.

Nittayakamolphun, P., Bejrananda, T., & Pholkerd, P. (2022). The Dynamic Relationship of Volatilities and Hedging between Cryptocurrencies and Other Financial Assets. Applied Economics Journal, 29(1), 78-99.

Phuensane, P., Chinnoraset, N., Chancharat, S., & Chancharat, N. (2018). Volatility of Stock Returns in the Stock Exchange of Thailand: The Case of Energy and Utilities Group. KKU Research Journal (Graduate Studies) Humanities and Social Sciences, 6(3), 97-104.

Pumchan, S., & Jaroenwiriyakul, S. (2020). The Analysis for Volatility of Returns in Stock Exchange of Thailand, USA, UK and Japan. KKU Research Journal (Graduate Studies) Humanities and Social Sciences, 8(2), 88-97.

Reboredo, J. C. (2018). Green bond and financial markets: Co-movement, diversification and price spillover effects. Energy Economics, 74, 38-50.

Rehman, M. U., Raheem, I. D., Zeitun, R., Vo, X. V., & Ahmad, N. (2023). Do oil shocks affect the green bond market?. Energy Economics, 117, 106429.

Sirikhord, P., & Maglin, P. (2017). Factors Affecting Price’s Fluctuation of the SET50 Index Futures in Thailand Derivative Market during the Year 2011-2015. Journal of Accountancy and Management, 9(1), 106-120.

Suwannapak, S., Huhttarak, S., Chancharat, S., & Chancharat, N. (2019). Test of the Day-of-the-Week Effect on Stock Market Volatility: The Case of the SET50 Index. KKU Research Journal (Graduate Studies) Humanities and Social Sciences, 7(3), 134-145.

Wang, X., Li, J., & Ren, X. (2022). Asymmetric causality of economic policy uncertainty and oil volatility index on time-varying nexus of the clean energy, carbon and green bond. International Review of Financial Analysis, 83, 102306.

Xia, Y., Ren, H., Li, Y., Xia, J., He, L., & Liu, N. (2022). Forecasting green bond volatility via novel heterogeneous ensemble approaches. Expert Systems with Applications, 204, 117580.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-31