ความพร้อมของผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชีในหน่วยงานราชการส่วนกลาง ในการใช้ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่
คำสำคัญ:
ความพร้อมในการปฏิบัติงาน, หน่วยงานราชการส่วนกลาง, ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความพร้อมในการปฏิบัติงานในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ของผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชีในหน่วยงานราชการส่วนกลาง และ 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความพร้อมในการปฏิบัติงานในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ของผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชีในหน่วยงานราชการส่วนกลางที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน การวิจัยในครั้งนี้เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจำนวนทั้งสิ้น 385 ชุด โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามคือ ผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชีในหน่วยงานราชการส่วนกลาง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเชิงสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานการวิจัยด้วยการวิเคราะห์ด้วยสถิติ t-test, One-way ANOVA และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า ความพร้อมในการปฏิบัติงานในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ของผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชีของหน่วยงานราชการส่วนกลางในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชีของหน่วยงานราชการส่วนกลางที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ อันได้แก่ เพศ อายุ ตำแหน่งงาน ระยะเวลาในการทำงาน และรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน ยกเว้น ระดับการศึกษา จะมีความพร้อมในการปฏิบัติงานในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
References
กรมบัญชีกลาง. (2565). แนวทางการขึ้นระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai). http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTE R79/DRAWER050 /GENERAL/DATA0000/00000246.PDF
จารุกัญญ์ คำพรม. (2565). สภาพปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานระบบการบริหารงานการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เฉพาะระบบการเงินและบัญชีกรมท่าอากาศยานกระทรวงคมนาคม. https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/sat18 /6314060085.pdf.
ทิพย์ประภา สีชาเหง้า และรัชดา ภักดียิ่ง. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานด้านบัญชี ด้วยระบบ GFMIS ของหน่วยงานศาลในสังกัดสำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 4. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 10(1), 88-98.
นฤมล เกสรลํ้า, นพดล อุดมวิศวกุล, และจําเนียร ราชแพทยาคม. (2566). แนวทางการนํานโยบายการพัฒนาระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกสใหมไปปฏิบัติของกรมบัญชีกลาง. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, 18(1), 103-121.
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2564. (20 เมษายน 2564). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 138 ตอนพิเศษ 84 ง หน้า 17-18.
ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี เรื่องมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่อง การนำเสนองบการเงิน. (12 กรกฎาคม 2566). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 140 ตอนพิเศษ 188 ง หน้า 1.
ปาลิดา เชษฐ์ขุนทด, อุสารัตน์ เจนวณิชยานนท์, อาทิตยา เลี้ยงวัฒนหิรัญ, ปรียณัฐ เอี๊ยบศิริเมธี, และ
วิลาวรรณ ชูกลาง. (2565). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการจัดทำบัญชีในระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 14(1), 41-56.
พัชมณ ปัญจงามพัฒนา และเฉลิมพร เย็นเยือก (2567). สมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานของข้าราชการ : กรณีศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้ายสากล กองบัญชาการกองทัพไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 29(1), 167-178.
สภาวิชาชีพบัญชี. (2560). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 3 เรื่อง ทักษะทางวิชาชีพ. https://www.tfac.or.th/upload/9414/ 1s721TNQoM.pdf.
สภาวิชาชีพบัญชี. (2564). คู่มือประมวลจรรยาบรรณสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2564. https://acpro-std.tfac.or.th
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. 2563. คู่มือแนวทางการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ พ.ศ. 2563 – 2565. https://www.ocsc.go.th.
อโนชา โรจนพานิช. (2565). การพัฒนาสมรรถนะของนักบัญชีที่ปฏิบัติงานในกิจการนิติบุคคลในเขตกรุงเทพมหานครภายใต้ยุคดิจิทัล ดิสรัปชั่น. วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุบลราชธานี, 9(1), 89-106.
อรอนงค์ จิระกุล. (2565). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ของผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชีในสถานศึกษาสังกัดคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาคกลาง. https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/ twin92/6214154697.pdf.
รวิวรรณ อรรถกรวิกรัย. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของผู้ทำบัญชีความรู้ความสามารถตามมาตรฐาน การศึกษาระหว่างประเทศและความสำเร็จในสายงานบัญชี: กรณีศึกษา ผู้ทำบัญชีในสำนักงานบัญชีในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques. (3rd ed.), New York: John Wiley & Sons.
Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper & Row.
Hersey, P., & Blanchard, K. H. (1993). Management of organizational behavior: Utilizing human resources (6th ed.). Prentice-Hall, Inc.
Herzberg, F. (1959). The Motivation to Work. New York: John Wiley & Sons
Nunnally, J. C. (1978). Psychometric Theory. (2nd ed). New York: McGraw-Hill.
Psycharis, S. (2005). Presumptions and actions affecting an e-learning adoption by the educational system - Implementation using virtual private networks. The European Journal of Open, Distance and E-Learning, 8(2), 1-10.
Rovinelli, R. J., and Hambleton, R. K. (1976). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Tijdschrift voor Onderwijsresearch, 2(2), 49-60
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 2024-09-02 (2)
- 2024-08-30 (1)
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.