การรู้ดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

ผู้แต่ง

  • อาพร สุนทรวัฒน์ ศูนย์เทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

คำสำคัญ:

การรู้ดิจิทัลในการปฏิบัติงาน, บุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรู้ดิจิทัลในการปฏิบัติงาน จัดทำแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการรู้ดิจิทัลของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี โดยใช้แบบสอบถาม (ความเชื่อมั่น = 0.964) กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จำนวน 302 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเลือกตามสะดวก สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ F-test

          ผลวิจัย พบว่า ระดับการรู้ดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อแยกพิจารณา พบว่า การเข้าถึงและตระหนักดิจิทัลมีค่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนการส่งเสริมพัฒนาการรู้ดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีให้สูงขึ้นก่อนด้านอื่น คือ การสื่อสารเพื่อการปฏิบัติงานและการประเมินดิจิทัล พบว่า ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ถัดมาเป็นการใช้งานเครื่องมือด้านดิจิทัลหรือแอปพลิเคชันขั้นต้นสำหรับปฏิบัติงาน การประยุกต์ใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการทำงาน การใช้ดิจิทัลเพื่อการทำงานร่วมกัน การวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับงานประจำ การจัดการข้อมูลระหว่างหน่วยงาน และการปฏิบัติตามกฎหมายและหลักปฏิบัติที่ดีด้านดิจิทัล พบว่า ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ในการพัฒนาการรู้ดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี พบว่า ควรแยกกลุ่มตามอายุ ระดับการศึกษา ประเภทตำแหน่ง และอายุการปฏิบัติงาน ตามระดับการรู้ดิจิทัลในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2562). สรุปผลการสำรวจข้อมูลสถานภาพการรู้เท่าทันสื่อ และสารสนเทศของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.

กระทรวงแรงงาน. (2564). แผนปฏิบัติการดิจิทัลกระทรวงแรงงาน (พ.ศ. 2563–2565). https://www.mol.go.th/wp-content/uploads/sites/2/2021/ 05/M0L-PlanDigital2563-2564.pdf

กิติพงศ์ สมชอบ วัลลภา อารีรัตน์ ปาริชาติ ทุมนันท์ และวรเทพ ฉิมทิม. (2563). การศึกษาองค์ประกอบของการเรียนรู้ดิจิทัลสำหรับบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ. ครั้งที่ 21 วันที่ 27 มีนาคม 2563 (น. HMP1 - 9). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ทรูดิจิทัลเอคาเดมี. (2564). ทักษะด้านดิจิทัล (Digital Skills) ก้าวสำคัญสู่อนาคต.https://www.truedigitalacademy.com/en/blog/ทักษะด้านดิจิทัล-digital-skills-ก้าว

ธิดา แซ่ชั้น และทัศนีย์ หมอสอน. (2559). การรู้ดิจิทัล: นิยาม องค์ประกอบ และสถานการณ์ในปัจจุบัน. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 34(4), 116-145.

นวพัฒน์ เก็มกาแมน. (2563). แนวทางการพัฒนาการรู้ดิจิทัลสำหรับครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

นิตยา สุริน. (2562). การพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการเปลี่ยนสู่ยุคดิจิทัล: กรณีศึกษาสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล สำนักงานศาลยุติธรรม. การศึกษาค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

โพสต์ทูเดย์. (2560). ดิจิทัล สกิล เตรียมพร้อมสู่ไทยแลนด์โฉมใหม่. https://www.posttoday.com/lifestyle/516410

ภานุพงศ์ พรหมมาลี. (2562). การวิเคราะห์การรู้ดิจิทัลของอาจารย์ระดับอุดมศึกษาโดยใช้แผนภูมิต้นไม้การจำแนกปละการถดถอย: กรณีศึกษาสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. (2561). ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ระยะ 20 ปี 2560-2579 ฉบับปรับปรุง 11 ตุลาคม 2561. เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

เรณุกา สันธิ และพรชนิตว์ ลีนาราช. (2565). สมรรถนะการรู้ดิจิทัลสำหรับบรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยไทย. วารสารอินฟอร์เมชั่น, 29(1): 131-154.

แววตา เตชาทวีวรรณ และอัจศรา ประเสริฐสิน. (2559). การพัฒนาแบบวัดการรู้ดิจิทัลสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2563). คู่มือแนวทางพัฒนาบุคลากรภาครัฐ 2563 -2565, กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2560). แนวทางพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐเพื่อปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2562). ทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเพื่อการปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2563). แนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ ด้านทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy : DL) ของสำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. https://pattani.mnre.go.th/attachment/iu/download.php?WP=qUIcnKt5p QygZKqC GWOghJstqTgcWat 0pQOgBUp1GQWgG2rDqYyc4Uux

สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. (2563). แผนบริหารและพัฒนาบุคลากร มหาวิทยาลัย

ราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีงบประมาณ 2563-2567. เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

สุกานดา จงเสริมตระกูล. (2565). ระบบการเรียนแบบกลุ่มสืบสอบบนแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดเพื่อส่งเสริมการรู้สารสนเทศดิจิทัลและการรับรู้ทางจริยธรรมทางสารสนเทศของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

เอมิกา นัดกระโทก. (2564). การพัฒนาทักษะดิจิทัลของบุคลากรในการปฏิบัติงานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่องค์กรดิจิทัลของสำนักงานอัยการภาค 3. การศึกษาค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Helen, J. (2016). Digital literacy in the workplace: Deciphering the Gobbledygook. http://www.linkedin.com/pulse/digital-literacy-workplace-deciphering-gobbledygook-helen-jamieson.

Hoechsmann, M., & DeWaard, H. (2015). Mapping Digital Literacy Policy and Practice in the Canadian Education Landscape. http://mediasmarts.ca/ sites/mediasmarts/files/publicationreport/full/mapping-digital-literacy.pdf

Poore, M. (2013). Using Social Media in the Classroom: A Best Practice Guide.

Los Angeles: Sag.

Vuorikari, R., Punie, Y., Carretero Gomez S. & Van den Brande, G. (2016). DigComp 2.0:

The Digital Competence Framework for Citizens. Luxembourg Office of the European Union.

Yamane, T., (1967). Statistics: An introductory analysis. New York: Harper and Row. 1- 919.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-31

How to Cite

สุนทรวัฒน์ อ. (2024). การรู้ดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. วารสารร่มยูงทอง, 2(3), 91–107. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/romyoongthong/article/view/4060