การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน กลุ่มเครือข่ายศรีเชียงใหม่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1

Authors

  • ๊Uraiporn ์์Nakhontum

Keywords:

การบริหารจัดการสภาพแวดล้อม, การเรียนรู้ของนักเรียน

Abstract

This research aims to study environmental management and guidelines for developing an environment that is conducive to learning of the student of Sri Chiangmai network group 3 be under the Nong Khai Primary Education Service Area Office 1. The sample group of informants were teachers in educational institutions Sri Chiangmai network group 3 by 52 people using the ready-made tables of Krejcie and Morgan and stratified random sampling. The research instrument was a 5-level estimation scale questionnaire for 42 items with IOC values ​​between 0.67 – 1.00 and the reliability was 0.86, The statistics used to analyze the data were frequency distribution, percentage, mean, standard deviation.

The results of the research showed that

1.Managing an environment conducive to learning of the student of Sri Chiangmai network group 3 be under the Nong Khai Primary Educational Service Area Office 1. Overall, each aspect is at a high level ( = 4.38, S.D. = 0.51) and when considering each aspect, it was found that at a high level in all aspects. The aspect with the highest average was management and the aspect with the least mean was landscape.          

  1. Guidelines for developing a management environment conducive to learning of Sri Chiangmai network group 3 be under the Nong Khai Primary Educational Service Area Office 1 for management, administrators define the roles of the personnel. Safety, they manage things that may harm. Buildings, they must maintain the building to be always in good working order. Teaching, they encourage teachers to do research in the classroom. The landscape, they maintain school landscapes.

 

Keywords : Environment Management, Student Learning

References

กมลสรรค์ บุญกว้าง. (2550). การจัดการสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ณิศศา ณภาส์ณัฐ. (2558). สภาพแวดล้อมสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลเมืองกาญจนบุรี. ภาคนิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. กาญจนบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.

ดวงสุดา บุรเนตร. (2554). การบริหารสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8. ภาคนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. กาญจนบุรี: มหาวิทยาลับราชภัฏกาญจนบุรี.

นภาพร อดิศักดิ์. (2555). การศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนชุมชนบ้านหนองปรือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 3. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

เบญญาภา คงมาลัย. (2551). ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรูู้้ต่อการจดสภาพแวดล้อมทางการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรรณบุรี เขต 1 ปีการศึกษา 2550. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์น.

พิชญ์สุดา เกณเชี่ยวชาญ. (2561). การศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนเทศบาล 1 บ้านกนองซากแง้ว สังกัดเทศบาลตำบลห้วยใหญ่ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมนึก สุระกุล. (2549). ศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2547). แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

เหนียว ศีลาวงศ์. (2551). การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสําหรับคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อารียา สดารัตน์. (2556). การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตราชเทวี. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Downloads

Published

2023-02-26

How to Cite

์์Nakhontum ๊. (2023). การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน กลุ่มเครือข่ายศรีเชียงใหม่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1. JOURNAL OF MANAGEMENT SCIENCE SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY, 3(1), 129–144. retrieved from https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JMSSNRU/article/view/1146

Issue

Section

Research Articles