การวิเคราะห์เนื้อหางานวิจัยมาสคอตในประเทศไทย

Main Article Content

ศริญญา คงเที่ยง
จิตรกร ผดุง

บทคัดย่อ

มาสคอตได้ถูกนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือในการสื่อสารทางธุรกิจ และการสื่อสารทางการตลาดทั้งในและระหว่างประเทศถูกใช้เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับตราสินค้า ธุรกิจท่องเที่ยว เพื่อสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายของตราสินค้า เชื่อมโยงเข้ากับอัตลักษณ์ของชุมชน สถานที่ ธุรกิจ และใช้ในกิจกรรมการสื่อสาร รณรงค์ในกิจกรรมต่าง ๆ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาและอธิบายลักษณะของงานวิจัย “มาสคอต” ในประเทศไทยคำว่า “มาสคอต” และ “mascot” ได้ถูกใช้เป็นคำสำคัญในการค้นหา ในเว็บไซต์ Tci-Thaijo.org ได้พบเป็นจำนวน 13 บทความวิจัย เพื่อนำมาใช้เป็นกรณีศึกษา (case study) ในงานวิจัยนี้ใช้ผู้ลงรหัสจำนวน 2 คน เพื่อลงรหัส 4 ตัวแปร คือ (1) วิธีการเก็บข้อมูล (2) ประเภทกลุ่มตัวอย่าง (3) ประเภทมาสคอตที่ใช้ในงานวิจัย (4) ตัวแปรหรือหัวข้อที่ถูกระบุในงานวิจัยเกี่ยวกับมาสคอต วิเคราะห์ผลด้วยการใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ผลการศึกษาพบว่างานวิจัยส่วนใหญ่ใช้การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพการวิเคราะห์ตัวมาสคอตเพื่อหาอัตลักษณ์ลักษณะของมาสคอตที่ใช้ในงานวิจัย และวิเคราะห์มาสคอตที่ประสบความสำเร็จในการใช้อยู่ในปัจจุบัน ลักษณะมาสคอตที่ใช้ในบทความส่วนใหญ่เป็นมาสคอตที่ได้สร้างขึ้นมาใหม่เพื่อวัตถุประสงค์ชุมชน จังหวัด กิจกรรม รณรงค์ ในงานวิจัยเรื่องมาสคอตในอนาคตนั้น นักวิจัยสามารถจัดกลุ่มหรือพัฒนาเครื่องมือ แบบสอบถาม ที่ใช้เพื่อพัฒนาและสร้างมาสคอตเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการสร้างตัวมาสคอตให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์และวัตถุประสงค์ในการใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น โรงเรียน บริษัท สถานที่ท่องเที่ยว องค์กรทั้งแบบแสวงผลกำไร และไม่แสวงผลกำไร เปรียบเทียบการใช้มาสคอตทั้งมาสคอตในและมาสคอตต่างชาติ ในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน

Article Details

How to Cite
คงเที่ยง ศ., & ผดุง จ. (2023). การวิเคราะห์เนื้อหางานวิจัยมาสคอตในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 5(2), 99–110. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/MSJournal/article/view/1884
บท
บทความวิจัย

References

กฤษฎางค์ มั่นกิจ, และ วีรพงษ์ พลนิกรกิจ. (2557). กลยุทธ์การนำเสนอตราสินค้าผ่านเนื้อหาเกม บนสมาร์ทโฟน. Journal of Communication Arts, 32(2), 90-105.

ขวัญชีวา ไตรพิริยะ. (2563). การพัฒนาองค์ความรู้ด้านความคิดสร้างสรรค์เพื่อชุมชน (Creativity for Community) เพื่อสร้างแนวทางการพัฒนาสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ์ธุรกิจชุมชน. วารสารสุทธิปริทัศน์, 34(111), 71-83.

ชิงชัย ศิริธร. (2561). การประยุกต์ใช้วัฒนธรรมฮูปแต้มในการออกแบบกราฟิกเพื่อส่งเสริมการออกกำลัง กายในกีฬาขอนแก่นมาราธอนนานาชาติ 2019. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 36(3), 233-241.

ฐิติกร จันทพลาบูรณ์ และ ทรงวุฒิ ศรีรัตนมงคง (2558). ศึกษาและออกแบบการ์ตูนสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยเอกชน แห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 21(1), 99-109.

ทักษิณา สุขพัทธี. (2559). แนวคิดการออกแบบมาสคอตประจำเมืองเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของญี่ปุ่น. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 26(2), 17-31.

ประไพพรรณ เปรื่องพงษ์ และ เอื้อเอ็นดู ดิศกุล ณ อยุธยา. (2558). การออกแบบมาสคอตสำหรับงานอีเว้นท์ทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2(2), 59-68.

เพ็ญศิริ ทานให้, เสาวลักษณ์ ศรีดาเกษ, ประภาพร ภาภิรมย์, ธรินธร นามวรรณ และ กาญจน์ เรืองมนตรี (2563). นักศึกษาทันตสาธารณสุขกับบทบาทในการควบคุมการบริโภคยาสูบป้องกันนักสูบหน้าใหม่. วารสารทันตาภิบาล, 31(2), 90-106.

มณีวรรณ ชาตวนิช และ สมภพ ชาตวนิช (2561). อิทธิพลของสัญศาสตร์ต่อภาพความจดจาในแหล่งท่องเที่ยว ผ่านทุนทางปัญญาและวัฒนธรรม. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 12(2), 434-445.

วรินทรีย์ เยาว์ธานี, สุชาติ ลี้ตระกูล, ทศพล อารีนิจ และ อัญชลี เท็งตระกูล. (2559). การพัฒนารูปแบบการสื่อสารการตลาดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจชุมชนในจังหวัดเชียงราย. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ, 8, 85-104.

วิเชษฐ์ แสงดวงดี และคณะ (2563). นวัตกรรมสื่อสร้างสรรค์แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนตามแนวโอทอปนวัตวิถี: กรณีศึกษาบ้านคลองโยงตำบลศาลายาอำเภอพุทธ มณฑลจังหวัดนครปฐม. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม 7(1), 157-172.

สุชาดา แสงดวงดี และคณะ (2563). กลยุทธ์การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อสื่อความหมายอัตลักษณ์และสโลแกน ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนตามแนวโอทอปนวัตวิถี: กรณีศึกษาบ้านคลองโยงตำบลศาลายาอำเภอ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์, 24(2), 214-228.

สุธิดา วรรธนะปกรณ์, ภักดี ปรีดาศักดิ์, พีนาลิน สาริยา, สุทธิชาติ ใจชอบสันเทียะ และ นุสรา ทองคลอง ไทร. (2561). การออกแบบตัวการ์ตูนสัญลักษณ์ท้องถิ่นสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ในเขตพื้นที่ตำบลหมื่นไวย จังหวัดนครราชสีมา. วารสารชุมชนวิจัย, 12(Special), 112-126.

อิสรี ไพเราะ. (2560). ประสิทธิผลของการสร้างการจดจำต่อการสื่อสารการตลาดในการสร้างการ จดจำด้วยตุ๊กตาสัญลักษณ์กับบุคคลที่มีชื่อเสียง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 6(2), 167-179.

เอกลักษณ์ โภคทรัพย์ ไพบูลย์ และ อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. (2563). แนวทางการออกแบบตัวละครและ มาสคอตท้องถิ่นที่แสดงออกถึงความคาวาอี. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 22(1), 153-165.

Chantaplaboon, T. Srirattanamongkol, S. (2015). Study and mascot design for a private university in Nakhon Pathom Province. Christian University of Thailand Journal, 21(1), 99-109. (in Thai).

Chatawanich, M., & Chatawanich, S. (2018). The Influence of Semiotics Towards the Memorable Images of Destination Through the Intellectual and Cultural Capital. Dusit Thani College Journal, 12(2), 434-445. (in Thai).

Chingchai, S. (2018). Application of Northeastern Mural Painting Culture for Graphic Design to Promote Exercise in Khon Kaen International Marathon 2019. Journal of Nursing and Health Care, 36(3), 233-241. (in Thai).

Chujitarom, W., & Panichruttiwong, C. (2020). Animation-AR Silhouette Model to Create Character Identity Innovation for Computer Art Pre-Production, TEM Journal, 9(4), 1740.

Kongtieng, S. (2019). Effect of spokesperson types and the use of first person pronoun in crisis communication on food organization reputation and purchase intention. Ph.D. Dissertation, Graduate School, Bangkok University.

Mankit, P. & Phonnikornkij, V. (2014). Branded content strategies on smartphone game. Journal of Communication Arts, 32(2), 90-105. (in Thai).

Pairoa, I. (2017). The effectiveness of consumer memory on brand mascot and celebrity endorsement. Lampang Rajabhat University Journal, 6(2), 167-179. (in Thai).

Park, T., Wen, Y. C., Khemnguad, E., & Teekasap, P. (2017). Perception Differences in Using Brand Mascots on Products and Services between Thai and Japanese Consumers.University of the Thai Chamber of Commerce Journal Humanities and Social Sciences, 37(3), 1-14.

Poksupphiboon, A., & Srikanlayanabuth, A. (2020). The guidelines for designing kawaii local characters and mascots. Institute of Culture and Arts Journal, 22(1), 153-165. (in Thai).

Polachan, W. (2019). Social Media and the Transformation of the Controversial Thai Child Angel Dolls. Manutsayasat Wichakan, 26(2), 228-243.

Pruangpong, P. & Disakul Na Ayudhya, U. (2015). Mascot design for Chiang Mai cultural events. Journal of Fine and Applied Arts Chulalongkorn University, 2(2), 59-68. (in Thai).

Pumhiran, N. (2017). The use of spokes-characters for building brands in Thailand. Master Thesis in College of management, Mahidol university.

Roger, V. G. S. (2019). Attracting International Tourists through Mascot Awareness Ph.D. Dissertation, Graduate School, Ritsumeikan Asia Pacific University.

Saengduangdee, S. (2020). Participatory communication strategy to convey meaning of community identity and slogan to promote OTOP Nawatwithi community-based tourism: a case of Ban Klong Yong, Salaya sub-district, Phuttamonthon sub district, Nakhon Pathom province. Journal of Communication Arts Review, 24(2), 214-228. (in Thai).

Saengduangdee, V et al. Co-creative media innovation to promote OTOP Nawatwithi community-based tourism: a case of Ban-klongyong, Salaya Sub-district, Phuttamonthon Sub District, Nakhon Pathom Province. Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University, 7(1), 157-172. (in Thai).

Sookpatdhee, T. (2016). The mascots concept design to promote the image of the city tourism of japan. Payap University Journal, 26(2), 17-31. (in Thai).

Sounthornwiboon, P. (2019). The Development of Proactive Public Relations with the Line Application Model for the Faculty of Liberal Arts, KMITL, Thailand. In Proceedings of the 2019 8th International Conference on Educational and Information Technology, pp. 289-292. Bangkok: King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang

Suzuki, S., & Kurata, Y. (2017). An analysis of tweets by local mascot characters for regional promotions, called yuru-charas, and their followers in Japan. In Information and Communication Technologies in Tourism 2017, pp. 711-724. Rome, Italy. Springer International Publishing.

Thanhai, P., Seedaket, S., Papirom, P., Namwan, T. & Ruangmontri, K. (2020). A role in tobacco control and preventing new smokers of dental public health students. Thai Dental Nurse Journal, 31(2), 90-106. (in Thai).

Traiphiriya, K. (2020). Development of the creativity for community knowledge to promote advertising and public relations for business community, Suthiparithat Journal, 34(111), 71-83. (in Thai).

Wattanarak, S. (2021). An Analysis of the Communication of Provincial Identities in Mascots to Promote Tourism in Thailand. Jurnal Komunikasi Pembangunan, 19(01), 1-12.

Wattanarak, S., Pichedpan, A., & Kheakao, J. (2019). Mascots as semiotic communication in tourism promotion: a case of Thailand. In ANPOR Annual Conference Proceedings “Power of public opinion and multicultural communication toward global transformation”, pp. 151-151. Chiang Mai: Thailand.

Watthanapakon, S., Preedasak, P., Sariya, P., Jaichobsuntia, S., Thongklongsai, N. (2018). Design of local mascot to product development based on creative economy concept in Meaunwai sub-district Nakornratchasima province. NRRU Community Research Journal, 12(Special), 112-126. (in Thai).

Wiratmo, T. G., Grahita, B., Maslan, R., Fadillah, F., & Ratri, D. (2021). A framework to design mascot character as supporting tool for city branding based on yuru-chara concept. Andharupa: Jurnal Desain Komunikasi Visual & Multimedia, 7(01), 01-12.

Wootvatansa, N., Kanjanapimai, K., Ariyatugun, K., & Pantakod, P. (2018). White Elephant” the King’s Auspicious Animal. Journal of Humanities and Social Sciences Surin Rajabhat University, 20(2), 361-372.

Yaothanee, W., Leetragul, S., Areenich, T. & Tengtragul, A. (2559). The development of marketing communication model for increasing the efficiency of community business implementation in Chian Rai province. Journal of Social Academic, 8, 85-104. (in Thai).