ปัจจัยทางการบริหารจัดการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาในโรงเรียนเทคนิคอาชีวศึกษา LIU ZHOU แห่งที่ 2 มณฑล GUANG XI สาธารณรัฐประชาชนจีน

Main Article Content

ฮวง เหวินซิน
ไพฑูรย์ อินต๊ะขัน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นที่มีต่อปัจจัยทางการบริหารจัดการซึ่งมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาในวิทยาลัยอาชีวศึกษา Liuzhou แห่งที่ 2 มณฑล GUANG XI สาธารณรัฐประชาชนจีน และ เพื่อทดสอบอิทธิพลของปัจจัยทางการบริหารจัดการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาในวิทยาลัยอาชีวศึกษา Liuzhou แห่งที่ 2 มณฑล GUANG XI สาธารณรัฐประชาชนจีน กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาใหม่ที่ลงทะเบียนเรียนในชั้นปีที่ 1 ในปี พ.ศ.2564 จำนวน 351 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมานวิเคราะห์ คือ การถดถอยพหุคูณ ด้วยเทคนิค Enter ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางการบริหารจัดการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาในวิทยาลัยอาชีวศึกษา Liuzhou แห่งที่ 2 มณฑล GUANG XI สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ทั้งปัจจัยด้านภาพลักษณ์โรงเรียน ด้านหลักสูตร ด้านอาจารย์ผู้สอน ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการบริการ ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านเหตุผลส่วนตัว และ ปัจจัยทางการบริหารจัดการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาในวิทยาลัยอาชีวศึกษา Liuzhou แห่งที่ 2 มณฑล GUANG XI สาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ปัจจัยด้านภาพลักษณ์โรงเรียน ปัจจัยด้านหลักสูตร ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และ ปัจจัยด้านบริการ

Article Details

How to Cite
เหวินซิน ฮ., & อินต๊ะขัน ไ. (2023). ปัจจัยทางการบริหารจัดการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาในโรงเรียนเทคนิคอาชีวศึกษา LIU ZHOU แห่งที่ 2 มณฑล GUANG XI สาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 5(3), 33–43. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/MSJournal/article/view/2150
บท
บทความวิจัย

References

ปัญจา ชูช่วย. (2559). ปัจจัยในการให้บุตรหลานศึกษาต่อในสถาบันอาชีวศึกษาของผู้ปกครองในพื้นที่เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใต้. ใน รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 7, หน้า 1137-1150. สงขลา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ยุภาพร นอกเมือง 罗洵 และ สันติพงษ์ ทองดี. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการตัดสินใจศึกษาต่อทางภาษาจีน ระหว่างมหาวิทยาลัยประเทศไทยกับมหาวิทยาลัยในประเทศจีน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน โรงเรียนในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี. วารสารบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 6(6), 107-119.

วิศาล ภุชฌงค์, อเนก พันธุรัตน์, บุญส่ง เกิดหล่ำ. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกเรียนวิทยาลัยการศึกษาเอกชน : กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการลพบุรี เขตอำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. Journal of Nakhonratchasima College, 11(2), 129-140.

Alves, Alves,H.,& Raposo,M. (2010). The Influence of University Image on Student Behavior. International Journal of Educational Management, 24(1), 73-85.

Arpan,L.,Raney,A.,& Zivnuska,S.A, (2003) A Cognitive Approach to Understanding University Corp. Communications: International Journal, 8(2), 97-113.

Best,J.,& Kahn,J.V. (1993). Research in Education (7th ed.) Boston: Allyn and Bacon.

Bulolo, C., Reymick, O. O., Mangudhla, T., Ikechukwu, O., Kawalya, N. V., & Li, F. (2022) Factors Affecting Students’ Attitude towards Learning Chinese as a Second Language: A Case Study of the Confucius Institute at Makerere University and Luyanzi Collage, Uganda. Open Journal of Social Sciences, 10(11), 257-271.

Cronbach.L.J. (1990). Essentials of Psychological Test (5th ed.). New York : Harper Collins.

Guo Wei, Jiang Wei, Li Hui. (2016). An Empirical Study on the Impact of Industrial College Campus Environment on Student Development in China -- Also on the Mediation Effect and Mask Effect of Identity. Tsinghua University Education Research, 37(2), 96-103.

Harvey L. & Green. (1993). Defining Quality .Assessment Evaluation in Higher Education, 18(1), 9-34.

Shi Langfang. (1996). Curriculum Theory-The Basis, Principles and Problems of Curriculum. Education Science Press.

Siangchokyoo, N., Chalaechorn, N., & Sanohkham, B. (2022). Competent Model of Educational Institute Administrators in the 21st Century That Influences the Effectiveness of the Private Vocational College in Thailand. PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research, 11(2), 78-92.

Theus K. (1993). Academic Reputations: The process of formation and decay. Public Relations Review, 19(3), 277-291.

Treadwell ,D.F. & Harrison,T.M. (1994). Conceptualizing and Assessing Organizational Image : Model Images ,Commitment, and Communication. Communications Monographs, 61(1), 63-85.

Xiao Meiqing. (2018). A Study on College Image Factors Affecting High School Graduates' School Choice, Southwest University.

Yan Youwu. (2017) The Impact of Changes in Campus Environment on the Education of Secondary Vocational Students. Modern Vocational Education Journal, 17, 10-17.