การพัฒนาทุนมนุษย์ด้านการศึกษาของอาจารย์ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

เพียงเดือน เกิดอำแพง
ณัฐวุฒิ วิเศษ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาทุนมนุษย์ด้านการศึกษาของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเอกชน 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยเอกชนไทย และ 3) เพื่อศึกษาการพัฒนาทุนมนุษย์ด้านการศึกษาของอาจารย์ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถาม เพื่อให้ได้ข้อมูลปฐมภูมิ ตลอดจนความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง คือ อาจารย์มหาวิทยาลัยเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 11 สถาบัน จำนวน 371 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล โดยใช้โปรแกรม AMOS ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการพัฒนาทุนมนุษย์ด้านการศึกษาของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเอกชน อยู่ระดับมาก 2) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยเอกชนไทย อยู่ระดับมาก และ 3) การพัฒนาทุนมนุษย์ด้านการศึกษาของอาจารย์ ประกอบด้วย ด้านการลงทุนในการฝึกอบรม และด้านการให้การศึกษาต่อ มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2556). การวิเคราะห์สถิติ : สถิติสำหรับการบริหารและวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 15 กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จิราพร วิโรจน์สกุล และคณะ. (2561). การพัฒนากลยุทธ์การตลาดเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของมหาวิทยาลัยเอกชนในกรุงเทพมหานคร. กรณีศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ชุมพล รอดแจ่ม และคณะ. (2561). รูปแบบการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการของมหาวิทยาลัยเอกชนไทยสู่การเป็นเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 4(1), 59-60.

ณัฐธยาน์ สมยูรทรัพย์. (2559).กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อมหาวิทยาลัยเอกชนหลักสูตรนานาชาติ.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 2(3), 73-83.

ทิศทางการศึกษาของไทยในบริบทประชาคมอาเซียน.(2555). สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2559, จาก http://www. kus. kps.ku.ac.th /satit/asean/.

บัญชา ลิมปะพันธุ์. (2560). บทบาทภาวะผู้นำในการธำรงรักษาพนักงานกรณีศึกษาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในกรุงเทพฯ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร.

มนัญชยา ยอแซฟ และพิศมัย จารุจิตติพันธ์. (2562).ปัจจัยและนโยบายด้านทรัพยากรบุคคลที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน, วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 21(21), 194-205.

ศุภานัน พุฒตาล. (2560). ปัจจัยที่มีแนวโน้มการลาออกของพนักงานมหาวิทยาลัย. สายวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

สสอท. (2561). ประวัติความเป็นมาสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 21 กันยายน 2561, จาก https://www.apheit.org/2012-06-23-09-30-55.

เอกอนงค์ ศรีสำอางค์. (2560). การธำรงรักษาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาไทย: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 12(3), 101-113.

Andre and Lantu Donald Crestofel. (2015). Servant Leadership and Human Capital Management: Case Study in Citibank Indonesia. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 169(2015), 303 – 311.

Baron, A and Armstrong, M. (2007). Human Capital Management: Achieving Added Value Through People. London: Kogan Page Publishers.

Betty, A. E., and Christopher, B. M. (2010). Enhancing Quality of Student Teachers’ Practices through Reflective. Journal Writing during School Practice. Perspectives in Education, 28(2), 31-40.

Gary, S. B. (1975). Human capital: A theoretical and empirical analysis, with special reference to education. 2nd Edition. New York: Columbia University Press.

Hatch, N. W., and Jeffery, H. D. (2004). Human capital and learning as a source of sustainable competitive advantage. Strategic Management Journal, 25(12), 1155-1178.

Leonard, N. (1976). Corporate Human Resource Development. New York: Van Nostrand Rcinhold.

Likert, R. (1967). Attitude Theory and Measurement. New York: Wiley & Son.

Yamane, T. (1967). Statistic : An Introductory Analysis. New York: Harper & Row.