ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้งของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลการยอมรับการใช้เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง ของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี ใช้การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย และคำนวณกลุ่มตัวอย่างตามวิธีของยามาเน่ ที่ความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่าง 113 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย t-Test F-test และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านตำแหน่งงาน ส่งผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง และปัจจัยองค์กรพบว่า ทั้ง 4 ปัจจัย ประกอบด้วย ความคาดหวังในประสิทธิภาพ ความง่ายต่อการใช้ อิทธิพลทางสังคม และสิ่งอำนวยความสะดวกในการใช้งาน ส่งผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้
ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละเรื่องเป็นความคิดเห็นของผู้เขียนบทความแต่ละท่าน
References
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติสำหรับบริหารและวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชนินทร์ ฐิติเพชรกุล, ณรงค์ สมพงษ์, และณัฐพล รำไพ. (2562). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนระบบคลาวด์คอมพิวติ้งตามแนวคิดคอนเน็คติวิสต์ซึม เพื่อส่งเสริมการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารราชพฤกษ์, 18(1), 38-48.
ชาญชัย อรรคผาติ. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติในการยอมรับในเทคโนโลยีคลาว์คอมพิวติ้ง เพื่อประยุกต์ใช้ในการให้บริการระบบบัญชีออนไลน์ สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในมุมมองของผู้ทำบัญชี. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
ธัญกานต์ คชฤทธิ์ และกุสุมา ดำพิทักษ์. (2563). การยอมรับระบบคลาวด์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ระบบสารสนเทศการบัญชีภาคธุรกิจ สำหรับผู้ทำบัญชี. วารสารศิลปการจัดการ, 4(1), 13-22.
ธานินทร์ ศิลป์จารู. (2555). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
นพดล ติรเดชาฤทธิ์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการพื้นที่ จัดเก็บข้อมูล
กลุ่มเมฆ (Cloud Storage). ค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นวรัตน์ ป้องจิตใส และวศิณ ชูประยูร. (2562). การยอมรับและนำคลาวด์คอมพิวติ้งไปใช้ในกระบวน การทางธุรกิจของ SMEs. รังสิตสารสนเทศ, 25(2), 78-114.
พรศรี ลีลาพัฒนวงศ์ และทิพวรรณ ปิ่นวนิชย์กุล. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี : กรณีศึกษายานยนต์ไฟฟ้าประเภทยานยนต์ที่นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน (รย.1). วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., 42(2), 129-144.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. (2562). ข้อมูลสถิติ. สืบค้นเมื่อ 6 กันยายน, 2563, จาก http://personal.rmutsb.ac.th/statistic.html
ยอดศักดิ์ รักษาแก้ว. (2559). แนวทางการพิจารณาเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้งมาใช้ในองค์กร กรณีศึกษา บริษัทจำหน่ายสินค้าอุปกรณ์สื่อสารแห่งหนึ่ง. การค้นคว้าอิสระ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เยาวนุช รักสงฆ์. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับและการใช้ระบบบัญชีออนไลน์แบบคลาวน์ของวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมในประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 13(2), 40-52.
วสุธิดา นุริตมนต์ และทรงวิทย์ เจริญกิจธนลาภ. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีและความตั้งใจใช้บริการชำระเงินของผู้บริโภครุ่นใหม่ด้วยโปรแกรมประยุกต์คิวอาร์โค้ดผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟน. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6(12), 40-50.
วิวัฒน์ มีสุวรรณ์. (2557). ระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆในทางการศึกษา. Journal of Education Naresuan University, 16(1), 149-157.
ศศิจันทร์ ปัญจทวี และกัลยา ใจรักษ์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้ระบบสารสนเทศ กรณีศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเชียงใหม่. ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมสัมมนาวิชาการ การนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก.
ศิริรัฐ โชติเวชการ. (2561). การพัฒนาของระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ที่น่าจับตามอง. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน, 2562, จาก http://www.fap.or.th/upload/9414/OGI4CNUmTs.pdf.
สว่างนภา ต่วนภูษา. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้งในสถาบันอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
อัญณิฐา ดิษฐานนท์ และภริตา พงษ์พาณิชย์. (2560). ปัจจัยหลักที่ใช้ในการตัดสินใจนำระบบคลาวด์คอมพิวติ้งมาใช้ในอุตสาหกรรมธุรกิจประกันชีวิตของประเทศไทย. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 15(1), 99-112.
Armbrust, M., Fox, A., Griffith, R., Joseph, A.D., Katz, R., Konwinski, A., Lee, G., Patterson, D., Rabkin, A., Stoica, I., & Zaharia, M. (2010). A view of cloud computing. Communication of the ACM, 53(4), 50-58.
Hameed, M. A., Counsell, S., & Swift, S. (2012). A conceptual model for the process of IT innovation adoption in organizations. Journal of Engineering and Technology Management, 29, 358-390.