FACTORS AFFECTING THE ACCEPTANCE OF USING CLOUD COMPUTING TECHNOLOGY OF ACADEMIC STAFF IN SUVARNABHUMI RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY, SUPHAN BURI CAMPUS

Main Article Content

Sumalee Namachote
Jugkrit Mahoran

Abstract

This research aimed to study factors affecting the acceptance of using cloud computing technology of academic staff in Suvarnabhumi Rajamangala University of Technology, Suphan Buri Campus. The sample consisted of 113 participant using a purposive sampling the Yamane method with a tolerance of 0.05. Questionnaires were used as research tool to collect data. Then the data was analyzed using statistics including percentage, mean and standard deviation mean while t-Test, F-test, and Multiple linear regression were also applied for hypothesis test. The result found that personal characteristics: position had an effect on technology cloud computing acceptance, and organization factors: Expectation on the effectiveness, Ease of use, Social influence and Facilities of use had an effect on technology cloud computing acceptance.

Article Details

How to Cite
Namachote, S., & Mahoran, J. (2021). FACTORS AFFECTING THE ACCEPTANCE OF USING CLOUD COMPUTING TECHNOLOGY OF ACADEMIC STAFF IN SUVARNABHUMI RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY, SUPHAN BURI CAMPUS. JOURNAL OF MANAGEMENT SCIENCE UDON THANI RAJABHAT UNIVERSITY, 3(5), 65–77. retrieved from https://so08.tci-thaijo.org/index.php/MSJournal/article/view/3048
Section
Research Article

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติสำหรับบริหารและวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชนินทร์ ฐิติเพชรกุล, ณรงค์ สมพงษ์, และณัฐพล รำไพ. (2562). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนระบบคลาวด์คอมพิวติ้งตามแนวคิดคอนเน็คติวิสต์ซึม เพื่อส่งเสริมการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารราชพฤกษ์, 18(1), 38-48.

ชาญชัย อรรคผาติ. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติในการยอมรับในเทคโนโลยีคลาว์คอมพิวติ้ง เพื่อประยุกต์ใช้ในการให้บริการระบบบัญชีออนไลน์ สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในมุมมองของผู้ทำบัญชี. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

ธัญกานต์ คชฤทธิ์ และกุสุมา ดำพิทักษ์. (2563). การยอมรับระบบคลาวด์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ระบบสารสนเทศการบัญชีภาคธุรกิจ สำหรับผู้ทำบัญชี. วารสารศิลปการจัดการ, 4(1), 13-22.

ธานินทร์ ศิลป์จารู. (2555). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

นพดล ติรเดชาฤทธิ์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการพื้นที่ จัดเก็บข้อมูล

กลุ่มเมฆ (Cloud Storage). ค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นวรัตน์ ป้องจิตใส และวศิณ ชูประยูร. (2562). การยอมรับและนำคลาวด์คอมพิวติ้งไปใช้ในกระบวน การทางธุรกิจของ SMEs. รังสิตสารสนเทศ, 25(2), 78-114.

พรศรี ลีลาพัฒนวงศ์ และทิพวรรณ ปิ่นวนิชย์กุล. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี : กรณีศึกษายานยนต์ไฟฟ้าประเภทยานยนต์ที่นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน (รย.1). วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., 42(2), 129-144.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. (2562). ข้อมูลสถิติ. สืบค้นเมื่อ 6 กันยายน, 2563, จาก http://personal.rmutsb.ac.th/statistic.html

ยอดศักดิ์ รักษาแก้ว. (2559). แนวทางการพิจารณาเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้งมาใช้ในองค์กร กรณีศึกษา บริษัทจำหน่ายสินค้าอุปกรณ์สื่อสารแห่งหนึ่ง. การค้นคว้าอิสระ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เยาวนุช รักสงฆ์. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับและการใช้ระบบบัญชีออนไลน์แบบคลาวน์ของวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมในประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 13(2), 40-52.

วสุธิดา นุริตมนต์ และทรงวิทย์ เจริญกิจธนลาภ. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีและความตั้งใจใช้บริการชำระเงินของผู้บริโภครุ่นใหม่ด้วยโปรแกรมประยุกต์คิวอาร์โค้ดผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟน. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6(12), 40-50.

วิวัฒน์ มีสุวรรณ์. (2557). ระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆในทางการศึกษา. Journal of Education Naresuan University, 16(1), 149-157.

ศศิจันทร์ ปัญจทวี และกัลยา ใจรักษ์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้ระบบสารสนเทศ กรณีศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเชียงใหม่. ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมสัมมนาวิชาการ การนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก.

ศิริรัฐ โชติเวชการ. (2561). การพัฒนาของระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ที่น่าจับตามอง. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน, 2562, จาก http://www.fap.or.th/upload/9414/OGI4CNUmTs.pdf.

สว่างนภา ต่วนภูษา. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้งในสถาบันอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

อัญณิฐา ดิษฐานนท์ และภริตา พงษ์พาณิชย์. (2560). ปัจจัยหลักที่ใช้ในการตัดสินใจนำระบบคลาวด์คอมพิวติ้งมาใช้ในอุตสาหกรรมธุรกิจประกันชีวิตของประเทศไทย. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 15(1), 99-112.

Armbrust, M., Fox, A., Griffith, R., Joseph, A.D., Katz, R., Konwinski, A., Lee, G., Patterson, D., Rabkin, A., Stoica, I., & Zaharia, M. (2010). A view of cloud computing. Communication of the ACM, 53(4), 50-58.

Hameed, M. A., Counsell, S., & Swift, S. (2012). A conceptual model for the process of IT innovation adoption in organizations. Journal of Engineering and Technology Management, 29, 358-390.