บทบาทของการรับรู้ภาพลักษณ์ และคุณภาพการบริการที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการซ้ำ ของผู้บริโภคร้านกาแฟประเภทคาเฟ่ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Main Article Content

วสุธิดา นุริตมนต์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของภาพลักษณ์ และคุณภาพการบริการที่มีต่อการใช้บริการซ้ำร้านกาแฟประเภทคาเฟ่ ของผู้บริโภคในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคที่ใช้บริการร้านกาแฟประเภทคาเฟ่ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำหรับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 385 คน ใช้วิธีการสุ่มโดยอาศัยความน่าจะเป็นแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลได้ใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์การทดถอยเชิงพหุคูณ ใช้สำหรับการทดสอบสมมติฐานในการศึกษาครั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่าภาพลักษณ์ มีอิทธิพลต่อการใช้บริการซ้ำร้านกาแฟประเภทคาเฟ่ ส่วนคุณภาพการบริการในมิติความเป็นรูปธรรม และการรู้จักและเข้าใจลูกค้า และการให้ความมั่นใจแก่ลูกค้ามีอิทธิพลต่อการใช้บริการซ้ำร้านกาแฟประเภทคาเฟ่ ของผู้บริโภคในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการพัฒนาภาพลักษณ์ และคุณภาพบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค นำไปสู่การใช้บริการซ้ำ ตลอดจนสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับธุรกิจ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัญญ์วรา ไทยหาญ, พวงเพ็ญ ชูรินทร์ และ สิญาธร นาคพิน (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ ตราสินค้า คุณค่าตราสินค้ากับความจงรักภักดีในตราสินค้าของผู้ใช้เครื่องสำอางนำเข้าจากต่างประเทศในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิทยาการจัดการ, 6 (1), 95-119.

ขนิษดา สังฆรักษ์. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาพลักษณ์กับความพึงพอใจคุณภาพการให้บริการของลูกค้าธนาคารกรุงไทย และธนาคารออมสิน ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ, 2(1), 37-52.

ไชยชนะ จันทรอารีย์, มาเรียม นะมิ และอัมพล ชูสนุก (2559). อิทธิพลของคุณภาพการให้บริการต่อความไว้เนื้อเชื่อใจ ความพึงพอใจ การบอกต่อ และการกลับมาใช้บริการซ้ำของลูกค้าโรงพยาบาลพระราม 2. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 8(2), 25-40.

ฉัฐพร โยเหลา (2563). แนวโน้มอุตสาหกรรมกาแฟ. วารสารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. อุตสาหกรรมสาร. 61, 7-8.

ธนาคารกรุงเทพ. (2558). คอกาแฟไทยมีมากขึ้น ส่งธุรกิจกาแฟสดใสทั้งตลาด. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563 จาก http://www.bangkokbanksme.com/article/459.

ธนาคารกสิกรไทย. (2561). ธุรกิจร้านกาแฟ บริหารอย่างไรให้รุ่ง. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2563. จาก https://kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/Coffee-Shop-Management.pdf.

บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2550). ระเบียบวิธีการวิจัย: แนวทางปฏิบัติสู่ความสำเร็จ.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วสุธิดา นุริตมนต์ และณภัทร ทิพย์ศรี. (2562). อิทธิพลของคุณภาพบริการและการบริหารความสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการซ้ำ: การศึกาเชิงประจักษ์ลูกค้าที่ใช้บริการโรงแรมในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารสุทธิปิริทัศน์, 33(105). 175-186.

ศราวุทธ โชคชัยวรรัตน์, ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์. สุรัติ สุพิชญางกูร และสุธาสิณี สุศิวะ. (2556). คุณภาพการบริการของธุรกิจโรงแรมใน สปป. ลาว เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกรณีศึกษา นครหลวงเวียงจันทร์. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 8 (1), 67-70.

Ayutthaya, S.S.N. (2013) Impact of Perceived Service on Brand Image and Repurchase Intentions of Thai Passengers towards Low Cost Carriers. AU Journal of Management, 11, 46-56.

Biel, A. L. (1992, November-December). How brand image drives brand equity. Journal of Advertising Research, 32 (November-December), 6-12.

Cochran, W. G. (1977). Sampling techniques. (3rd Ed.). New York: John Wilay and Sons

Cronbach, L.J. (1951). Coefficient Alpha and the Inter Structure of Tests. Psychometrika. 16(3), 297-334.

Even, J.R., and Lindsay, W.M. (2011), Managing for quality and performance excellence, 8th edition, Southwestern: Cengage Learning.

Golder, P.N., Mitra, D., and Moorman, C. (2012). What is Quality? An Integrative Framework of Processes and states, Journal of Marketing, 76, 1-23.

Jalilvand, M.R. and Heidari, A. (2017) Comparing Face-to-Face and Electronic Word-of-Mouth in Destination Image Formation. Information Technology & People, 30, 710-734.

Kotler, P., 2001. A Framework for Marketing Management. Prentice-Hall, Upper Saddle River, NJ, USA.

Nunnally, J.C. and Bernstein, I.H. (1994). Psychometric theory. (3th ed). New York: McGraw-Hill.

Parasuraman, A., Berry, L.L. and Ziethaml, V.A. (1990). Delivering Quality Service: Balancing Customer Perceptions and Expectations. New York: The Free Press.

Prabowo, H., Astuti, W., and Respati, H., (2020). Effect of Service Quality and Brand Image and Brand Image on Repurchase Intention through Word of Mouth at Budget Hotels Airy Rooms. Open Journal of Business and Management, 8, 194-207.

Saleem, M.A.S. and Yaseen, Z.D.A. (2017) Impact of Service Quality and Trust on Repurchase Intention-The Case of Pakistan Airline Industry. Asia Pacific Journal of Marketing and Logistics, 29, 1136-1159.

Samad, A. (2014) Examining the Impact of Perceived Service Quality Dimensions on Repurchase Intentions and Word of Mouth: A Case from Software Industry of Pakistan. Journal of Business and Management, 16, 37-41.

Srivastava, K. and Sharma, N.K. (2013) Service Quality, Corporate Brand Image, and Switching Behavior: The Mediating Role of Customer Satisfaction and Repurchase Intention. Services Marketing Quarterly, 34, 274-291.

Susanti, E.C. (2019). The Effect of Brand Awareness and Brand Image on Repurchase Intention through Brand Loyalty in Beach Tourism in East Java, Indonesia. International Journal of Engineering and Advanced Technology. 8 (3). 548-554.