THE MARKETING MIX AFFECTING THE PERCEIVED VALUE OF OTOPFERMENTED - FISH PRODUCT BRANDOF CONSUMERS IN UDON THANIPROVINCE
Main Article Content
Abstract
This research aims to: 1) examine demographic factors affecting the perceived value of OTOP fermented fish products on consumers in Udon Thani Province. 2) Investigate marketing mix factors affecting the perceived value of OTOP fermented fish products to consumers in Udon Thani Province. 3) Study a predictive variable of marketing mix factors and their effects on the perceived value of OTOP fermented fish products on consumers in Udon Thani Province. The sample group consisted of 400 respondents who consume OTOP fermented-fish products in the urban area of Udon Thani Province who were selected by using simple random sampling and convenience sampling. The research instrument employed in this study was a questionnaire. The data was analyzed using descriptive statistics, including frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The research findings indicated that the majority of survey respondents were female, aged 41 and above, single, and had a monthly income of 20,000 Baht or more. There was a high level of overall factors affecting the perceived value of OTOP fermented-fish products in Udon Thani Province. Among these factors, the highest average score was observed in the product, followed by the process, the people, the physical evidence, the price, the distribution channel, and the promotion, respectively. All aspects had statistically significant effects on the perceived value of the product at the 0.01 level.
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้ ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละเรื่องเป็นความคิดเห็นของผู้เขียนบทความแต่ละท่าน
References
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2563). รายงานสถิติจำนวนประชากรและบ้านประจำปี พ.ศ.2563. สืบค้น 20 ตุลาคม 2565, จาก https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/views/showDistrictData.php?rcode=80&statType=1&year=63.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดอุดรธานี. (2565). แผนปฏิบัติราชการ 5 ปี (พ.ศ. 2565-2569). อุดรธานี: สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดอุดรธานี.
นทิชา ออมสิน. (2564). การศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด(4Ps) ที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อน้ำปลาร้าปรงุรสในภาชนะปิดสนิทของคนวัยทำงานในอำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสุโขทัย.
นพพร ราชูโส. (2555). การศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภค กรณีศึกษา กลุ่มผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP ปลาร้าท่าตูม. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี.
นลินทิพย์ ภัคศรีกุลกำธร. (2564). ผลิตภัณฑ์ปลาร้า : ธุรกิจเล็กพริกขี้หนู…ส่งออกปีละกว่า 20 ล้านบาท. สืบค้น 20 ตุลาคม 2566, จาก https://positioningmag.com.
นิภา ชุณหภิญโญกุล, จิดาภา ก้อนทอง, ดรุณี โกศล และนิศาชล วรรณทวี. (2563). ส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ระดับ 5 ดาว ของผู้บริโภคในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 9(2), 17-37.
พิศาล พงศาพิชณ์. (2561). ปลาร้าไทยตีตลาดทำเงินปีละ 800 ล้าน. สืบค้น 20 ตุลาคม 2566, จาก https://www.thaipost.net/main/detail/7454.
วิริยา จันทร์ทอง. (2563). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสั่งซื้ออาหารออนไลน์ผ่านฟู้ดแพนด้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สืบชาติ อันทะไชย. (2563). การจัดการตราสินค้า. อุดรธานี: บ้านเหล่าการพิมพ์.
อนันต์ นาเมืองรักษ์. (2564). การศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้อน้ำปลาร้าปรุงสำเร็จรูปของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อาภร สุนทรชัย, มนันญา ทองบ่อ และ ยุพดี ทองโคตร (2558). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าปลาร้าบองท่าตูม (OTOP) ของผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี. ใน การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ “สร้างสรรค์และพัฒนา เพื่อก้าวหน้าสู่ประชาคมอาเซียน” ครั้งที่ 2. หน้า 417-424. นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา.