SECOND-ORDER CONFIRMATORY FACTOR ANALYSIS SATISFACTION FOR USING COMPUTER LABORATORY SERVICES OF FACULTY OF MANAGEMENT SCIENCE, UDON THANI RAJABHAT UNIVERSITY
Main Article Content
Abstract
This research aimed to examine the goodness of fit of satisfaction for using computer laboratory services of faculty of management science, Udon Thani Rajabhat University and empirical data. The sample group consisted of 414 undergraduate students, who studying in the course of faculty of management science academic year 2020 recruited using simple random sampling method. The research instrument was a questionnaire with a 5 point rating scale. The data were analyzed by second-order confirmatory factor analysis. The results indicated that satisfaction for using computer laboratory services consisted of four components: learning resources, ambiance, management and staff. Model was consistent with the empirical data by having /df = 1.45, GFI = 0.93, AGFI = 0.91, CFI = 1.00, RMSEA = 0.033 and Standardized RMR = 0.044.
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้ ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละเรื่องเป็นความคิดเห็นของผู้เขียนบทความแต่ละท่าน
References
ธิราลักษณ์ ธีรวัจณนาภา. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้คอมพิวเตอร์ของบุคลากรครูในโรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานเอกชน จังหวัดนนทบุรี. สารนิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นิตยา ปิ่นแก้ว, กิ่งกาญจน์ พรมมาพงษ์ และ ปัทมาพร เงินแจ้ง. (2557). รายงานวิจัยสถาบัน เรื่องความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
เบญญาภา แสนสุทธิ์, พรทิพย์ ปุกะหุต, อุดมพร ถาวรอธิวาสน์ และ เพ็ญสุดา ทิพย์สุมณฑา. (2559). การสำรวจความพึงพอใจในการใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยราชธานี. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 1 “สร้างเสริมสหวิทยาการ ผสมผสานวัฒนธรรมไทย ก้าวอย่างมั่นใจเข้าสู่ AC”. หน้า 2077-2086. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชธานี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. (2561). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2560– 2561 (ฉบับปรับปรุง). อุดรธานี: งานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. (2563). ระบบสารสนเทศนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. สืบค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2563, จาก https://portal4.udru.ac.th/report_student1/
สุติมา นครเขต. (2561). การประเมินผลการใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.
Goffin, R. D. (2007). Assessing the adequacy of structural equation model: Golden rules and editorial policy. Personality and Individual Differences, 42(5), 831-839.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E., (2010). Multivariate data analysis: A global perspectives. Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education.
Kelloway, E. K. (2015). Using Mplus for Structural Equation Modeling; A Researcher’s Guide. CA: Sage Publications.
Schumacker, R. E. & Lomax, R. G., (2010). A beginner’s guide to structural equation modeling. 3rd ed. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.