ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือสำหรับประชาชนในจังหวัดอุดรธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการธนาคาร ผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Banking) ของประชาชนในจังหวัดอุดรธานีและเปรียบเทียบ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือของประชาชนในจังหวัดอุดรธานี จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชน ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดอุดรธานี จำนวน 435 คน ด้วยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการทดสอบที และสถิติการทดสอบเอฟ ในกรณีที่พบว่ามีความแตกต่างทดสอบรายคู่โดยวิธี LSD
ผลจากการวิจัย ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้งานธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือของประชาชน ในจังหวัดอุดรธานีทั้งในภาพรวมและรายด้านทั้ง 4 ด้าน คือ ในจังหวัดอุดรธานีโดยภาพรวม มีความสำคัญอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านช่องทางการบริการมีความสำคัญ อยู่ในระดับมาก ส่วนทางด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคาและ ด้านการส่งเสริมการตลาดมีความสำคัญ อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ นอกจากนี้ผู้ใช้บริการธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้งานธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือแตกต่างกันทั้งในภาพรวมและรายด้าน
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้
ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละเรื่องเป็นความคิดเห็นของผู้เขียนบทความแต่ละท่าน
References
กองสถิติเศรษฐกิจ. (2565). การสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในครัวเรือน พ.ศ. 2565 (ไตรมาส 1). กองสถิติพยากรณ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 89.
กิตติภพ อุทัยแพน, ณิฏะญาร์ บรรเทา, พูนศักดิ์ ศิริโสม และนิวัตร สุวรรณะ. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้งานกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Wallet) เพื่อซื้อสินค้าของผู้บริโภคในจังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7(2), 149-150.
คณะกรรมการกำกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล. (2566). Digital Startup กลไกสำคัญในการพัฒนาประเทศสู่ Thailand 4.0. สืบค้น 31 ธันวาคม 2566, จาก https://www.depa.or.th/th/article-view/digital-startup-thailand-40#.
จักรพงษ์ ลีลาธนาคีรี. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการทำธุรกรรมทางการเงินบนสมาร์ตโฟนในเขตกรุงเทพและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี.
ณภัทร จรรย์จรัสสิน. (2562). การศึกษารูปแบบพฤติกรรมที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ Mobile Banking. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2566). The Way We Pay 2022. สืบค้น 31 ธันวาคม 2566, จาก https://www.bot.or.th/content/dam/bot/documents/th/research-and-publications/reports/payment-report/bi-monthly-report/Bi-monthly_report_Vol18-2022_December.pdf
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2566). ธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ ธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือ. สืบค้น 31 ธันวาคม 2566, จาก https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/BOTWEBSTATaspx?reportID=949&language=TH.
ธมนวรรณ กัญญาหัตถ์. (2554). ความพึงพอใจของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครที่มีต่อประโยชน์ของสมาร์ตโฟน. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ปัทมาพร ศรีบัวลา. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้บริการธนาคารทางอินเทอร์เน็ตในเขตกรุงเทพมหานคร.
การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พรทิพา ลีวิวัฒนกูล. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภคในการใช้บริการธนาคารพาณิชย์ยุคสังคมไร้เงินสด. การค้นคว้าอิสระปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ. กรุงเทพฯ : พัฒนาการศึกษา.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2566). ธุรกรรมการเงินดิจิทัลปี 2566 : เติบโตต่อเนื่องแตะ 36.5-38 ล้านล้านบาท [รายงานฉบับพิเศษ]. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยกสิกรไทย.
สุรีย์พร เหมืองหลิ่ง. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการทางการเงินผ่าน Mobile Banking Application ของผู้ใช้บริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุริยะ พิศิษฐอรรถการ. (2556). ประเภทของอุปสงค์. สืบค้น 30 พฤษภาคม 2563, จาก http://econosuriya.blogspot.com/2012/11/blog-post_5592.html
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). สถิติประชากรศาสตร์ ประชากรและเคหะ. สืบค้น 28 กันยายน 2565, จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/01.aspx
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด. สืบค้น 28 ธันวาคม 2566, จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=12388&filename=gross_regional.
อภิวรรณ์ หมื่นสอาด และพิทยา ผ่อนกลาง. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการโมบายแบงก์กิ้ง ของผู้ใช้บริการในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 13(2), 153.
แบรนด์เอจ. (2561). เจาะพฤติกรรมผู้บริโภคยุค 4.0 เส้นทางความสำเร็จ ในยุค Digital Transformation. สืบค้น 27 ธันวาคม 2566, จาก https://www.brandage.com/article/7720.
Agrawal, R. & Prasad, J. (1999). Are differences germane to the acceptance of new information technologies?. Decision Sciences, 30(2), 361-391.
Burgoon, M. (1974). Approaching Speech/Communication. New York: Winston.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2014). Multivariate data analysis. (7th ed.). Harlow, United Kingdom: Pearson Education.
Kittiphob Uthaipan et al. (2021) . Factors affecting usage behavior of electronic wallet for the goods purchasing of consumer in maha sarakham province. Southeast Bangkok Journal, 7(2), 149-150.
Rachmawati, I. K., Bukhori, M., Majidah, Y., Hidayatullah, S., & Waris, A. (2020). Analysis Of Use Of ธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือ With Acceptance And Use Of Technology (Utaut). International Journal of Scientific & Technology Research, 9(8), 534-540.
Yalley, A. A., & Dei Mensah, R. (2023). ธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือ usage behavior. A Research Agenda for Consumer Financial Behavior, 131-144. doi: 10.4337/9781803922652.00018