พื้นที่การเรียนรู้ : ในวันที่โลกหมุนเร็ว
คำสำคัญ:
การเรียนรู้, พื้นที่การเรียนรู้, การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่แนวคิดเรื่องพื้นที่การเรียนรู้ ในวันที่โลกหมุนเร็ว ตามการศึกษาค้นคว้าและทัศนะของผู้แต่ง ซึ่งกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกส่งผลกระทบทั้งทางตรง และทางอ้อม ต่อบุคคล สังคม ประเทศ อีกทั้งยังส่งผลต่อระบบพื้นฐานของการพัฒนาต่าง ๆ รวมถึงระบบการศึกษา การศึกษาที่เป็นสิ่งสำคัญที่จะขับเคลื่อนกลไกการพัฒนาประเทศ การพัฒนาการศึกษา ซึ่งแนวทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในอนาคตให้มีทักษะและคุณภาพที่พร้อมรับสถานการณ์ต่าง ๆ อีกทั้งการเรียนรู้ที่ทำให้เกิดความรู้อย่างแท้จริงเกิดขึ้นจากความต้องการพัฒนาตนเองให้มีศักยภาพมีคุณภาพในการดำรงชีวิต การเรียนรู้เกิดขึ้นตลอดเวลา การเรียนรู้บางอย่างเกิดขึ้นได้เองโดยอัตโนมัติเป็นไปตามกลไกของธรรมชาติ แต่การเรียนรู้บางด้านต้องเป็นไปตามกฎเกณฑ์ และในอนาคตการเรียนรู้มีแนวโน้มที่จะเกิดเป็นการเรียนรู้แบบผสมผสาน จะกลายเป็นวิถีชีวิตใหม่ คือเป็น “การเรียนแบบเผชิญหน้า” และ “การเรียนออนไลน์” พื้นที่แห่งการเรียนรู้ บ้าน โรงเรียน ชุมชน จะช่วยบ่มเพาะเส้นทางการเติบโตของผู้เรียนจนเป็นผู้ใหญ่ที่มีทักษะชีวิต ทักษะสุขภาพที่ดี มีความสามารถในการบรรลุผลตามหน้าที่ สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิต พื้นที่เรียนรู้จึงเป็นทางเลือกและโอกาสในการพัฒนาศักยภาพให้กับผู้เรียนที่มีความต้องการที่หลากหลาย ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงแห่งศตวรรษที่ 21
References
ดวงพร หวานเย็น. (2556). การจัดการการสอนบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่องการเขียนเพื่อการสื่อสาร โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การเรียนรู้และสื่อสารมวลชน คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปราณี อ่อนศรี. (2532). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ที่ใช้สมองเป็นฐานของนักเรียนพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก. ปริญญานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการ วิจัยและพัฒนาหลักสูตร ภาควิชาศึกษาศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
รังสิยา นรินทร์, ประกอบ ใจ มั่น, และสายสวาท เกตุชาติ. (2562). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านโดยการใช้กิจกรรมเป็นฐานในการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความมุ่งมั่นแน่วแน่ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 19(1), 57-70.
พนัส จันทร์ศรีทอง. (2565). ชีวิตวิถีถัดไปกับการศึกษา. Education journal Faculty of Education, Nakhon Sawan Rajabhat University, 5(3), 25-36.
วรรณา เลิศวิจิตรจรัส. (2556). สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี – สฤษดิ์สงศ์.
วิจารณ์ พานิช และปิยาภรณ์ มัณฑะจิตร. (2563). การศึกษาคุณภาพสูงระดับโลก. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ สยามกัมมาจล.
สุชาดา จักรพิสุทธิ์ และคณะ. (2548). การศึกษาทางเลือก : โลกแห่งการเรียนรู้นอกโรงเรียน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2557). รายงานการวิจัย สมรรถนะครูและแนวทางการพัฒนาครูในสังคมที่เปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). สภาการศึกษาเสวนา (OEC Forum) 2015 – 2016: จากข้อเสนอสู่นโยบาย. กรุงเทพฯ: บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.
สำนักงานอุทยานการเรียนรู้. (2558). คิดทันโลก ท้าทายกระบวนทัศน์ว่าด้วยอนาคตห้องสมุดและห้องสมุดในอนาคต. กรุงเทพฯ: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง.
อภิภา ปรัชญพฤทธิ์. 2560. การออกแบบพื้นที่การเรียนรู้ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา ในศตวรรษ ที่ 21. วารสารวิทยาลัย ดุสิตธานี, 11(2), 379 – 392.
Brown, M. (2005). Learning spaces. In Diana, G.O. and James, L.O. (Eds.), Educating the Net Generation (12.1-12.22). EDCAUSE.
Clark, C.R., & Mayer, E.R. (2003). e-Learning and the science of instruction. San Francisco: John Wiley and Son.
Cornell, P. (2002). The Impact of Changes in Teaching and Learning on Furniture and the Learning Environment. New Directions for Teaching and Learning Journal. (92), 33-41.
EPS Solution. (2023). E-Learning. Retrieved on 30 January 2023, from https://www.epcs.co.th/e-learning/hello-world/
Gee, L. (2006). Human-Centered Design Guidelines. In Diana, G.O. (Ed). Learning Spaces. (10.1-10.13). EDCAUSE.
Kneppell, M. & Riddle, M. (2012). Distributed learning spaces: Physical, blended and virtual learning spaces in higher education. In M.Keppell, K, Souter, & M. Riddle. Physical and virtual learning spaces in higher education: Concepts for the modern learning environment. (pp.1-21). PA: Information Science Reference.
School of Change Makers. (2023). ทำไมเราจึงต้องมีพื้นที่เรียนรู้. Retrieved on 14 February 2023, from https://schoolofchangemakers.notion.site/Why-5a4ab027e653479b9823650 dbafc1851/
The Kommon. (2023). แพลตฟอร์มออนไลน์ ภูมิทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้. Retrieved on 29 January 2023, from https://www.thekommon.co/online-learning-platform-lifelonglearningfocus/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.