พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่าน แอปพลิเคชั่น ติ๊กต๊อก ของนักศึกษาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี

ผู้แต่ง

  • เสกสรร สายสีสด มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • ประภาวรินทร์ แสนพิมพ์
  • สุกัญญา พิมพ์ศร
  • ธวลธรรม นาทันใจ
  • วิทวัส อาษานาม

คำสำคัญ:

พฤติกรรม, การตัดสินใจซื้อ, ความพึงพอใจ, ติ๊กต๊อก

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยเรื่องพฤติกรรมการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ผ่าน แอปพลิเคชั่น ติ๊กต๊อก ของนักศึกษาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ แอปพลิเคชั่น ติ๊กต๊อก ของนักศึกษาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่าน แอปพลิเคชั่น ติ๊กต๊อก ของนักศึกษาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี และ 3) เพื่อศึกษา การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจใน การซื้อสินค้าออนไลน์ผ่าน แอปพลิเคชั่น ติ๊กต๊อก ของนักศึกษาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี เครื่องมือที่ใช้ได้แก่แบบสอบถาม จำนวน 4 ตอน ประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป พฤติกรรมการใช้ พฤติการมการซื้อ และความพึงพอใจและการใช้ประโยชน์จาก แอปพลิเคชั่น ติ๊กต๊อก กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักศึกษาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี จำนวน 400 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน สถิติการวิจัยใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการใช้ แอปพลิเคชั่น ติ๊กต๊อก ของนักศึกษาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี ส่วนใหญ่ใช้งาน แอปพลิเคชั่น ติ๊กต๊อก คิดเป็นร้อยละ 98.5 ใช้ แอปพลิเคชั่น ติ๊กต๊อก ผ่านระบบปฏิบัติการ IOS (เช่น Iphone, Ipad) คิดเป็น ร้อยละ 66.3 รู้จัก แอปพลิเคชั่น ติ๊กต๊อก จากสื่อต่างๆ

References

กันยพัชร์ วิชญชัยสิทธิ์. (2560). กระบวนการตัดสินใจทำศัลยกรรมเสริมความงามของผู้บริโภค. (การค้นคว้า อิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

เกสริน ขันธจีรวัฒน์. (2563). การศึกษาปัจจัย พฤติกรรม และความพึงพอใจของผู้ใช้แอปพลิเคชัน TikTok

ชาวไทยและจีน. (สารนิพนธ์อักษรศาสตรบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ไทยรัฐไซเบอร์เน็ต.(2565). คนอีสานขวัญใจ TikTok ทั้งใช้ทั้งจ่ายแซงคนกรุงเทพฯ. สืบค้น สิงหาคม 15, 2566 จาก https://www.thairath.co.th/news/tech/2358276

ธีรพล ยั่งยืน. (2562). การใช้ประโยชน์กับความพึงพอใจและพฤติกรรมผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับ

ธุรกิจการท่องเที่ยวของกลุ่มผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

มัสลิน ใจคุณ. (2561). การตลาดสังคมออนไลน์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ.

สุภานัน เลาหมี่. (2560) พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านทาง แอปพลิเคชัน ติ๊กต๊อก ของคนวัยทำงานในเขตจังหวัดสมุทรปราการ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

เสกสรร สายสีสด. (2563). การศึกษาพฤติกรรมการใช้และความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชัน TikTok ของนักเรียน นักศึกษาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี. อุดรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). e-Commerce ไทย ยุคหลัง COVID-19. สืบค้น

สิงหาคม 15, 2566 จาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-

Sharing/Perspective-on-Future-of-e-Commerce.aspx

SME Go Inter. (2564). Top 7 ‘ตลาดอี คอมเมิร์ซ’ ประเทศไหนใหญ่สุดในโลก. สืบค้น กรกฎาคม 30, 2566 จาก https://www.bangkokbanksme.com/en/which-country-largest-e-commerce-

market-the-world

Nattapon Muangtum. (2565). สรุปข้อมูลผู้ใช้งาน TikTok Data Stat & Insight 2022. สืบค้น สิงหาคม 15, 2566 จาก https://www.everydaymarketing.co/trend-insight/tiktok-data-stat-and-insight-thailand-2022-we-are-social/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-28