สภาพแวดล้อมในการทำงานที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงาน ของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง

ผู้แต่ง

  • ผจงจิต ติ๊บประสอน -
  • ปัทมราช ใจนันต๊ะ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง
  • พิชชาภรณ์ เรือนใจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง
  • จุฬานันท์ ขัดแข็งแรง คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง
  • ดารารัตน์ ธาตุรักษ์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง

คำสำคัญ:

สภาพแวดล้อมในการทำงาน, ความสุขในการทำงาน, องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบลักษณะทางประชากรศาสตร์กับความสุขในการทำงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง และ 2) ศึกษาสภาพแวดล้อมในการทำงานที่มีอิทธิพลต่อความสุขในการทำงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง จำนวนประชากร 197 คน โดยวิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควต้า เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์
การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า 1) บุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปางที่มีเพศ และสังกัดกองหรือฝ่าย แตกต่างกัน มีความสุขในการทำงาน แตกต่างกัน และ 2) สภาพแวดล้อมในการทำงานในด้านความยึดเหนี่ยวระหว่างผู้ร่วมงาน ด้านการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา และด้านการสนับสนุนในการทำงาน
มีอิทธิพลทางบวกต่อความสุขในการทำงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

ดวงใจ ตั้งประเสริฐ. (2565). ความสุขในการทำงานของพนักงานฝ่ายอนุมัติสินเชื่อบุคคล ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่. (การค้นคว้าอิสระ). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ณัฐวีณ์ ฉายสุวรรณ. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสุขในการทำงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลเขาคันทรง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. (งานนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต). วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

นวพล สมศรี. (2564). ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบความสุขในการทำงานกับความผูกพันของพนักงานในกลุ่มบริษัท A. (สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นันทพร ทองลิ้ม. (2563). ผลกระทบของสัมพันธภาพในที่ทำงาน และความไม่มั่นคงในงานต่อความตั้งใจลาออกจากงาน ผ่านความสุขในการทำงาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นูร์ปาชียะห์ กูนา. (2562). ความสุขในการทํางานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตําบลในอําเภอ

เมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี. (สารนิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ภนิดา บุญทวี. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขในการทำงานของเจ้าหน้าที่สำนักงานสรรพากร

พื้นที่กรุงเทพมหานคร 7 กรมสรรพากร. (สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล.

ภัทรดนัย ฉลองบุญ. (2561). ความสุขในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 6

(ฉบับพิเศษ), 590-599.

วรลักษณ์ มากศิริ. (2562). การมีอิสระในงาน ความหลากหลายในงานและการรับรู้ การสนับสนุนจากหัวหน้างานที่พยากรณ์ พฤติกรรมการทำงานเชิงรุกของพนักงานระดับปฏิบัติการการไฟฟ้า

ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โรงไฟฟ้าแม่เมาะ. (การค้นคว้าอิสระปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วรากรณ์ ก้านเหลือง. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขในการทำงานของบุคลากรสำนักงานจังหวัดชลบุรี. (การค้นคว้าอิสระ). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุกริน ทวีสุต. (2562). ปัจจัยสภาพแวดล้อมในการทำงานที่สัมพันธ์กับความสุขในการทำงาน ของบุคลากรเทศบาลนครหาดใหญ่. (สารนิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

สุภาณี ธนสมบัติ. (2565). ความสุขในการทำงานของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี. วารสารวิชาการสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม, 6(12), 111-121.

สุมาลี ทองดี. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, วารสาวิชาการ ปขมท, 9(1), 141-155.

องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง. (2566). นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง. สืบค้น ตุลาคม 5, 2566 จาก https://www.lppao.go.th/Main60/images/

documents/2567/Prakart_13_9_Sep66.pdf

Garett. (1965). Testing for teachers. New York: Van No strand Reinhold.

Lee, F., Lee, C., & Lee, A. (2000). Marketing Research. New York: John Wiley and Son.

Moos, R.H. & Moos, R.S. (1986). Family environment scale manual (2nd ed.). CA: Consulting Psychologists.

Warr, P. (1990). The measurement of well - being and other aspects of mental health. Journal of Occupational Psychology, 63, 193-210.

Yamane. (1967). Statistics: an introductory analysis. New York: New York: Harper& Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-08-30