หัวหน้ากองบรรณาธิการ : รศ.ดร.ธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์
(Chief Editor: Assoc.Prof.Dr. Thanapan Laiprakobsup)
บรรณาธิการบริหาร : ผศ.ดร.สุธรรมา ปริพนธ์เอื้อสกุล
(Managing Editor: Assist.Prof. Dr.Suthamma Paripontueasakul)
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn University Journal of Social Sciences ) พิจารณาตีพิมพ์บทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ประเภทบทความ
รายละเอียดการส่งบทความ การส่งบทความเข้าระบบเพื่อพิจารณาจะมีขั้นตอนในการดำเนินการ 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่หนึ่ง เป็นการกรอกข้อมูลเกี่ยวกับบทความตามหัวข้อต่างๆที่ระบุไว้ในระบบ และ ขั้นตอนที่สอง เป็นการกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มใบนำส่งบทความ เพื่อเป็นการยืนยันในส่วนของผู้เขียนหลัก (Corressponding Author) และในส่วนของผลงานโครงการวิจัยที่เป็นการวิจัยร่วม ซึ่งบทความที่นำส่งต้องได้รับความยินยอมร่วมกันของผู้ร่วมวิจัยทั้งหมด (ดำเนินการตามแนวปฏิบัติของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI.) https://tci-thailand.org/?p=10916)
ดาวน์โหลด แบบฟอร์มนำส่งบทความวารสารสังคมศาสตร์ (PDF)
ดังมีรายละเอียดในแต่ละขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่หนึ่ง การกรอกข้อมูลเกี่ยวกับบทความ อันประกอบด้วย
1. ข้อมูลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย
2. รูปแบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 ระยะห่าง 1 บรรทัด (single space)
3. ขนาดความยาวของเนื้อหารวมภาคผนวกและส่วนอ้างอิงของบทความ (article) ระหว่าง 15-25 หน้า และบทวิจารณ์หนังสือ (book review) ความยาวระหว่าง 2-3 หน้ากระดาษ A4 พิมพ์ด้วยโปรแกรม Microsoft Word
4. บทความต้องมีบทคัดย่อ (abstract) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ วางตำแหน่งของบทคัดย่อภาษาอังกฤษก่อนบทคัดย่อภาษาไทย จำนวนไม่น้อยกว่า 150 คำ และไม่เกิน 200 คำ
ข้อกำหนด Publication Ethics (จริยธรรมการตีพิมพ์บทความ) ของวารสาร
บทความที่ส่งมาตีพิมพ์กับทางวารสารฯหากส่วนหนึ่งของบทความมาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในคน สัตว์ต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคนจากสถาบันที่ผ่านการรับรองสำนักงานมาตรฐานการวิจัยในคน สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และเป็นไปตามกฏหมายสากลสำหรับการทดลองในสัตว์ทดลองต้องผ่านการรับรองจากคณะกรรมการพิจารณาจรรยาบรรณการใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์เช่นกัน และอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ.2558 โดยผู้เขียนสามารถส่งไฟล์หนังสืออนุมัติดังกล่าวเป็นไฟล์ PDF. Upload มาพร้อมการส่งไฟล์บทความ submit เข้าระบบเพื่อประกอบการพิจารณา ทั้งนี้ หากบทความที่ส่งมาตีพิมพ์เป็นประเด็นหรือขอบเขตที่ไม่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในคน สัตว์ ตามเกณฑ์การวิจัยข้างต้น เช่น บทความทางปรัชญาการเมือง บทความวิเคราะห์เชิงสถิติ เป็นต้น จะได้รับการยกเว้นในส่วนของหนังสืออนุมัติ
ทั้งนี้ จะเริ่มใช้เกณฑ์ข้างต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 เป็นต้นไป
เกณฑ์การพิจารณา แบ่งออกเป็นประเด็นสำคัญ 2 ประเด็น ดังนี้
การอ้างอิง
ใช้การอ้างอิงแบบ นาม-ปี (author-date citation system) และภาคเขียนเอกสารอ้างอิง (reference) แบบ the Chicago Manual of Style 17th edition (author date) ตัวอย่างเช่น
(Wilson 2011, 261)
(Norris-Tirrell and Clay 2010, 237)
(Chuncharee Ketmaro 2014, 113)
(Pasuk Phongpaichit and Baker 2003, 97)
(Raco, Imrie and Lin 2011, 275)
(Fazey et al. 2007, 49) กรณีผู้เขียนมากกว่า 4 คน ในส่วน reference ต้องระบุชื่อและนามสกุล ผู้เขียนทุกคน
**ทั้งนี้ ผู้แต่ง (author) ควรจัดทำการอ้างอิง (reference) ให้ถูกต้องตามรูปแบบที่วารสารกำหนดไว้ คือ the Chicago Manual of Style 17th edition (author date) เพื่อให้เป็นไปตามขั้นตอนการดำเนินงานและระยะเวลาที่วารสารกำหนดไว้
หนังสือ
Norris-Tirrell, Dorothy, and Jay A. Clay. 2010. Stretegic Colaboration in Public and Nonprofit Administration: A Practice-Based Approach to Solving Shared Problems. Boca Raton, FL: CRC Press.
Pasuk Phongpaichit, and Chris Baker. 2003. Setthakit Kanmueang Thai Samai Krungthep. [Thailand: Economy and politics]. 3rd ed. Chiang Mai: Silkworm Books. (in Thai)
วารสาร
Somkiat Wanthana. 2015. “Kamnued Lae Kwam Yonyang Khong Seriprachatippatai.” [Origins and Paradox of Liberal Democracy]. Journal of Social Sciences 45(2): 127-45. (in Thai)
Wilson, James Lindley. 2011. “Deliberation, Democracy, and the Rule of Reason in Aristotle’s Politics.” American Political Science Review 105(2): 259-74. https://doi.org/10.1017/S0003055411000086.
นิตยสาร/หนังสือพิมพ์
Giglio, Mike. 2011. “Thai Facebook Freedom Fighter.” Newsweek, February 21, 22-5.
Hookaway, James. 2011. “Hanoi Detains Critic after Uprising Call.” The Wall Street Journal. March 1, 3.
วิทยานิพนธ์
Gonsrud, Lars Siland. 2009. “Market Capitation and interstate War: Limits to University in International Relations.” Master’s thesis, Sociology and Political Science, Norwegian University of Science and Technology.
แหล่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
Blanev, Dailas. 2010. “Understanding Global Civil Society: Theory, Governance and the Global Water Crisis” PhD diss., Colorado State University. ProQuest Dissertations and Theses. Accessed August 26, 2011. http://proquest.uni.com/pqderb?did.
ตัวอย่างการเขียนเอกสารอ้างอิง
Bercovith, Jacob, and Mikio Oishi, 2010. International Conflict in the Asia-Pacific: Patterns, Consequences and Management. London: Routledge.
Bodaar, Annemarie. 2008. “Crisis and the ‘Multicultural State’: Immigration, Multi-Ethnic Neighborhoods, and the Socio-Spatial Negotiation of Policy in the Netherlands.” PhD diss., The Ohio State University.
Breslin, Shaun. 2007. Theorising East Asian Regionalism(s): New Regionalism Asia’s Future(s). London: Routledge.
Chuncharee Ketmaro. 2014. Archewa Anamai. [Occupational Health]. 2nd ed. Bangkok: Ramkamhaeng University. (in Thai)
Declaration on ASEAN Unity in Cultural Diversity. 2011. Accessed December 15, 2014. http://www.asean.org/archive/documents/19th%20summit/Culture.pdf.
Fazey, loan, John A. Fazey, Joern Fischer, Kate Sherren, John Warren, Reed F. Noss, and Stephen R. Dovers. 2007. "A“aptive Capacity and Learning to Learn as Leverage for Social-Ecological Resilience. “Frontiers in Ecology and the Evironment 5(7): 375-80. https://doi.org/10.1890/1540-9295(2007)5[375:ACALTL]2.0.CO;2.
Ramesh, M. 2010. “Reasserting the Role of the State in the Healthcare Sector: Lessons from Asia. In Reasserting the Public in Public Services: New public Management Reforms. edited by M. Ramesh, Eduardo Araral, and Xun Wu, 101-12. London: Routledge.
Smith, Pariann. 2013. “Accomplishing the Goals of Multicultrural.” Curriculum and Teaching Dialogue 15(1): 27-40.
Somkiat Wanthana. 2015. “Kamnued Lae Kwam Yonyang Khong Seriprachatippatai.” [Origins and Paradox of Liberal Democracy]. Journal of Social Sciences 45(2): 127-45. (in Thai)
Wahdah, Raihani. 2011. “Education for Multicultural Citizens in Indonesia: Policies and Practices.” Accessed June 18, 2015. http://socsc.smu.edu.sg/sites/default/files/socsc/pdf./raihani.pdf.
The United Church of Canada. 2014. “Defining Multicultural, Cross-Cultural, and Intercultural.” Accessed December 16, 2014. http://www.unitedchurch.ca/files/intercultural/Mulicultral-crosscultural-intercultural.pdf.
ขั้นตอนที่สอง การกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มใบนำส่งบทความ ตามรายละเอียดในไฟล์ดาวน์โหลดดังปรากฎพร้อมนี้
ดาวน์โหลด แบบฟอร์มนำส่งบทความวารสารสังคมศาสตร์ (PDF)
ชื่อและที่อยู่อีเมล หรือข้อมูลส่วนบุคคล ที่กรอกในเว็บไซต์วารสารนี้จะใช้สำหรับวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในงานวารสารเท่านั้นและจะไม่เปิดเผยเพื่อวัตถุประสงค์ในกิจกรรมอื่น ๆ หรือให้กับบุคคลหรือหน่วยงานอื่นใดทราบ
Chulalongkorn University Journal of Social Sciences (CUJSS) is the official publication of the Faculty of Political Science, Chulalongkorn University | ISSN: 2985-1297 (Print), eISSN: 2985-1386 (Online) | Responsible editors: Assist.Prof. Pandit Chanrochanakit, PhD.| This journal is published under the terms of the Creative Commons Attribution 4.0 International (CC-BY-NC-ND 4.0) by Faculty of Political Science, , Chulalongkorn University, THAILAND