ตัวคูณทางการคลัง มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศไทย
DOI:
https://doi.org/10.61462/cujss.v55i1.3810คำสำคัญ:
ตัวคูณทางการคลัง, นโยบายการคลังแบบอาศัยดุลยพินิจ, นโยบายรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจบทคัดย่อ
งานศึกษานี้ประเมินค่าตัวคูณทางการคลังโดยอาศัยกระบวนการทางเศรษฐมิติที่เป็นที่ยอมรับวงกว้างในปัจจุบัน โดยทดลองใช้ข้อมูลสะท้อนการใช้จ่ายของรัฐบาลที่แตกต่างกัน 5 ลักษณะ งานศึกษาพบว่าค่าตัวคูณการใช้จ่ายของรัฐบาลอยู่ที่ 0.25-0.49 ซึ่งมีค่าต่ำกว่า 1 อย่างชัดเจน ค่าตัวคูณดังกล่าวสะท้อนความไม่มีประสิทธิภาพของมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศไทย ซึ่งเป็นประเทศเศรษฐกิจเปิดขนาดเล็กและมีสัดส่วนของภาคเศรษฐกิจนอกระบบในระดับสูง ทั้งนี้ ค่าตัวคูณการใช้จ่ายของรัฐบาลดังกล่าวประเมินขึ้นจากข้อมูลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปีของรัฐบาลที่มิได้คำนวณรวมการเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนของการชำระคืนต้นเงินกู้และรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง/ชดใช้ทุนสำรองจ่าย ซึ่งมีความสอดคล้องการดำเนินมาตรการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของรัฐบาลในทางปฏิบัติมากกว่าข้อมูลที่ถูกนำมาใช้ประเมินค่าตัวคูณทางการคลังในงานศึกษาในอดีต
Downloads
References
Barro, Robert J. 1974. "Are Government Bonds Net Wealth?" Journal of Political Economy 82 (6): 1095–1117. https://doi.org/10.1086/260266.
Barro, Robert J. 1989. "The Ricardian Approach to Budget Deficits." The Journal of Economic Perspectives 3 (2): 37–54. https://doi.org/10.1257/jep.3.2.37.
Blanchard, Olivier, and Roberto Perotti. 2002. "An Empirical Characterization of the Dynamic Effects of Changes in Government Spending and Taxes on Output." Quarterly Journal of Economics 117: 1329–1368. https://doi.org/10.1162/003355302320935043.
Cardoso, Dante, Henrique Carvalho, Davide Lima, Gabriel Pires, Renato Rugitsky, and Daniel Sanches. 2023. "The Multiplier Effects of Government Expenditures on Social Protection: A Multi-Country Analysis." Working Paper Series No. 2023-11, Department of Economics, FEA-USP. http://www.repec.eae.fea.usp.br/documentos/Cardoso_Carvalho_Lima_Pires_Rugitsky_Sanches_11WP.pdf.
Cornevin, Antoine, Juan S. Corrales, and Juan Pablo Angel. 2023. "A Deep Dive into Tax Buoyancy: Comparing Estimation Techniques in a Large Heterogeneous Panel." IMF Working Paper WP/23/71, International Monetary Fund. https://doi.org/10.5089/9798400238376.001.
Ljungqvist, Lars. 2008. "Lucas Critique." In The New Palgrave Dictionary of Economics, 2nd ed., edited by Steven N. Durlauf and Lawrence E. Blume. New York: Palgrave Macmillan. https://doi.org/10.1057/978-1-349-95121-5_2784-1.
Lucas, Robert E., Jr. 1976. "Econometric Policy Evaluation: A Critique." Carnegie-Rochester Conference Series on Public Policy 1 (1): 19–46. https://doi.org/10.1016/S0167-2231(76)80003-6.
Mineshima, Aiko, Marcos Poplawski-Ribeiro, and Anke Weber. 2014. "Size of Fiscal Multipliers." In Post-Crisis Fiscal Policy, edited by Carlo Cottarelli, Philip Gerson, and Abdelhak Senhadji, 315–-72. Cambridge: MIT Press. https://doi.org/10.7551/mitpress/9780262027182.003.0018.
Natthikan Vorasa-ngasil. 2008. "Indicators of Stimulus and Fiscal Multipliers in Thailand." Bank of Thailand.
Narongchai Thitinanphong. 2021. "A Guide to Analyzing the Impact of Government Spending on GDP through Fiscal Multipliers." Budget Office of the Parliament, Secretariat of the House of Representatives. https://dl.parliament.go.th/handle/20.500.13072/599346.
Ouliaris, Sam, Adrian Pagan, and Jorge Restrepo. 2018. "Quantitative Macroeconomic Modeling with Structural Vector Autoregressions: An EViews Implementation." Mimeo. https://www.eviews.com/StructVAR/structvar.html.
Perotti, Roberto, Ricardo Reis, and Valerie Ramey. 2007. “In Search of the Transmission Mechanism of Fiscal Policy [with Comments and Discussion].” NBER Macroeconomics Annual 22 (January):169–249. https://doi.org/10.1086/ma.22.25554966.
Pfaff, Bernhard. 2008. "VAR, SVAR and SVEC Models: Implementation within R Package vars." Journal of Statistical Software 27 (4): 1–32. https://doi.org/10.18637/jss.v027.i04.
Puapan, Pisit. 2011. "The Fiscal Policy Impact on Economic Performance in ASEAN5+3: Empirical Analyses." PhD diss., School of Development Economics, National Institute of Development Administration (NIDA). http://tic.car.chula.ac.th/th/ageing-society/102-ascc4/23649-the-fiscal-policy-impact-on-economic-performance-in-asean5-3-empirical-analyses.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เงื่อนไขการอนุญาตสาธารณะ
นโยบายลิขสิทธิ์และการอนุญาต
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เผยแพร่เนื้อหาทั้งหมดภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 นานาชาติ (CC BY-NC-ND 4.0)
ลิขสิทธิ์
บทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียนจะโอนสิทธิ์ทั้งหมดให้แก่วารสารเมื่อบทความได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์
สัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0
ภายใต้สัญญาอนุญาตนี้:
-
แสดงที่มา (BY): ผู้ใช้ต้องแสดงที่มาโดยอ้างอิงถึงผู้เขียน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งให้ลิงก์ไปยังสัญญาอนุญาต และระบุหากมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้สามารถทำได้ในลักษณะที่สมเหตุสมผล แต่ต้องไม่ทำในลักษณะที่แสดงว่าผู้อนุญาตให้การรับรองผู้ใช้หรือการใช้งานดังกล่าว
-
ไม่ใช้เพื่อการค้า (NC): ผู้ใช้ไม่สามารถใช้เนื้อหาเพื่อวัตถุประสงค์ทางการค้า การใช้งานเชิงพาณิชย์จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากผู้เขียนและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
ไม่ดัดแปลง (ND): หากผู้ใช้นำเนื้อหาไปรวม ดัดแปลง หรือต่อยอด ผู้ใช้ไม่สามารถเผยแพร่งานที่ดัดแปลงนั้นได้ การดัดแปลงผลงานจะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากผู้เขียนและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นโยบายการเข้าถึงแบบเปิด
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้การเข้าถึงเนื้อหาแบบเปิดโดยทันทีตามหลักการที่ว่าการทำให้งานวิจัยสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีแก่สาธารณะจะสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับโลก ผู้ใช้สามารถอ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก เผยแพร่ พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาฉบับเต็มของบทความได้โดยไม่ต้องขออนุญาตล่วงหน้าจากผู้จัดพิมพ์หรือผู้เขียน ทั้งนี้เป็นไปตามสัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0
นโยบายการเก็บบันทึกด้วยตนเอง
ผู้เขียนสามารถเก็บบันทึกบทความฉบับตีพิมพ์สุดท้าย ต้นฉบับที่ส่ง (preprint) หรือฉบับที่ผ่านการประเมิน (postprint) ในคลังสถาบันหรือเว็บไซต์ส่วนตัวได้ โดยต้องมีการอ้างอิงการตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมระบุแหล่งอ้างอิงที่สมบูรณ์และลิงก์ไปยังเว็บไซต์ของวารสาร
การขออนุญาต
สำหรับการใช้งานนอกเหนือจากที่ครอบคลุมโดยสัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0 กรุณาติดต่อ:
กองบรรณาธิการ
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Email: cusocscij@gmail.com
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 นานาชาติ กรุณาเยี่ยมชม: https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/deed.th